หน้าเว็บ

วันจันทร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2554

มาตรฐาน ISO 26000 บทที่ 5 (ตอนที่ 24 หัวข้อกำหนด 6.3.8 - 6.3.10 - สิทธิมนุษยชนประเด็นที่ 6-8)

บทที่ 5
การอธิบายความหมาย และรายละเอียดของมาตรฐาน ISO 26000 ฉบับ FDIS (Explanation of ISO/SR 26000; Final Draft International Standard)
ตอนที่ 24: หัวข้อกำหนด 6.3.8-6.3.10 - สิทธิมนุษยชนประเด็นที่ 6-8

6.3.8 Human rights issue 6: Civil and political rights
6.3.8.1 Description of the issues
 
Civil and political rights include absolute rights such as the right to life, the right to a life with dignity, the right to freedom from torture, the right to security of person, the right to own property, liberty and integrity of the person, and the right to due process of law and a fair hearing when facing criminal charges. They further include freedom of opinion and expression, freedom of peaceful assembly and association, freedom to adopt and practice a religion, freedom to hold beliefs, freedom from arbitrary interference with privacy, family, home or correspondence, freedom from attacks on honour or reputation, the right of access to public service and the right to take part in elections. [143] [152]
 
6.3.8.2 Related actions and expectations
 
An organization should respect all individual civil and political rights. Examples include, but are not limited to, the following:
- life of individuals;
- freedom of opinion and expression. An organization should not aim to suppress anyone’s views or opinions, even when the person expresses criticism of the organization internally and externally;
- freedom of peaceful assembly and of association;
- freedom to seek, receive and impart information and ideas through any means, regardless of national borders;
- the right to own property, alone or in association with others, and freedom from being arbitrarily deprived of property; and
- access to due process and the right to a fair hearing before any internal disciplinary measure is taken. Any disciplinary measures should be proportionate and not involve physical punishment or inhuman or degrading treatment.
คำอธิบาย
6.3.8 สิทธิมนุษยชนประเด็นที่ 6: สิทธิพลเมืองและทางการเมือง
6.3.8.1 คำอธิบายสำหรับประเด็นนี้
        สิทธิพลเมืองและทางการเมืองนั้น ครอบคลุมรายละเอียดที่ปรากฏออกมาเป็นสิทธิอย่างสัมบูรณ์ ได้แก่ สิทธิเพื่อชีวิต สิทธิของการมีชีวิตด้วยการปรากฏสภาพของการมีเกียรติยศและศักดิ์ศรี สิทธิของการมีเสรีภาพโดยต้องปราศจากการกระทำทารุณกรรมหรือเมื่อได้รับผลของการถูกทรมาน สิทธิเพื่อความมั่นคงในส่วนตน สิทธิของการถือและครอบครองทรัพย์สิน การมีเสรีภาพและบูรณภาพที่ปรากฏสภาพเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของรายบุคคล และสิทธิของการสมควรได้รับการพิจารณาให้เหมาะสมเป็นไปตรงตามรายละเอียดของกระบวนการทางกฎหมาย และสิทธิของการรับรู้ขึ้นมาได้อย่างยุติธรรมเมื่อได้รับผลของการกล่าวหาในด้านอาญาลักษณะต่างๆ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีรายละเอียดที่ครอบคลุมไปถึงเรื่องของการมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นออกมาได้อย่างอิสระ เสรีภาพในการดำเนินการจัดประชุมขึ้นมาอย่างสงบหรือสันติวิธี เสรีภาพในการยอมรับนับถือและปฏิบัติงานด้านศาสนา เสรีภาพในการดำรงรักษาไว้ซึ่งสภาพของความเชื่อ เสรีภาพที่ปราศจากการแทรกแซงขึ้นมาโดยพลการในเรื่องส่วนตน ครอบครัว บ้าน หรือการโต้ตอบทางการสื่อสาร การมีเสรีภาพที่ปราศจากการกล่าวร้ายและโจมตีต่อความมีเกียรติยศ และชื่อเสียงส่วนตน และสิทธิของความเป็นส่วนตนต่อความสามารถในการเข้าถึงหรือการได้รับงานบริการสาธารณะในด้านต่างๆ และสิทธิของการมีส่วนร่วมสำหรับการเลือกตั้งในแต่ละครั้งอีกประการหนึ่งด้วย [143] [152]
6.3.8.2 วิธีปฏิบัติ และความคาดหวังที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้
          องค์การควรแสดงความเคารพนับถือขึ้นมาอย่างสม่ำเสมอต่อสิทธิพลเมืองและทางการเมืองของแต่ละรายบุคคล สำหรับตัวอย่างที่เหมาะสม จะครอบคลุมถึงรายละเอียดของสิทธิในเรื่อง
             - การดำรงชีวิตของแต่ละรายบุคคล
        - การมีเสรีภาพต่อการแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอรายละเอียดที่เกี่ยวข้องออกมาโดยตรง และทั้งนี้องค์การจึงไม่ควรมุ่งเน้นหวังผลเพื่อการปราบปราม หรือระงับยับยั้งสำหรับการมีมุมมองหรือปรากฏแนวความคิดเห็นจากบุคคลต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป และเมื่อบุคคลเหล่านั้นได้กระทำการวิพากษ์วิจารณ์องค์การทั้งระดับภายในและระดับภายนอกองค์การอยู่ก็ตาม
             - การมีเสรีภาพต่อการเข้าประชุมร่วมกันอย่างสันติวิธี และการกระทำในนามของกลุ่มหรือสมาคม
             - การมีเสรึภาพในการค้นหา การได้รับเข้ามา หรือเป็นการแจ้งเพื่อให้ได้รับทราบถึงรายละเอียดของสารสนเทศ และแนวความคิดต่างๆ โดยผ่านช่องทางที่เหมาะสม และปราศจากข้อจำกัดของการมีขอบเขตในระดับชาติเกิดขึ้น
             - การมีเสรึภาพในการแสดงความเป็นเจ้าของทรัพย์สินในลักษณะส่วนตน หรือเมื่อถือครอบครองร่วมกับบุคคลรายอื่นๆ และยังครอบคลุมไปถึงการมีเสรีภาพเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ โดยปราศจากการพราก หรือยึดกลับคืนไปโดยอาศัยอำนาจพลการจากสภาพของการถือครองทรัพย์สินเหล่านั้นอยู่โดยตรง และ
             - การมีสิทธิในการเข้าถึงกระบวนการต่างๆ ที่ถูกกำหนดไว้ หรือเมื่อมีการพิจารณาขึ้นมาโดยตรง รวมไปถึงการมิสิทธิอย่างยุติธรรมต่อการได้ยิน หรือได้รับทราบรายละเอียดก่อนที่จะเริ่มต้นมีการดำเนินการมาตรการที่เข้มงวดในลักษณะใดๆ ก็ตามขึ้นมาอยู่ภายในองค์การแห่งนั้น เพราะฉะนั้นมาตรการที่เข้มงวดดังกล่าว จึงควรกระทำขึ้นมาในสัดส่วนที่เหมาะสม และจะต้องไม่แสดงผลของความเกี่ยวข้องเข้ากับการลงโทษทัณฑ์ทางกายภาพ หรือการก่อให้เกิดผลของการสูญเสียสภาพของความเป็นมนุษย์ หรือเป็นการกระทำใดๆ ที่ก่อให้เกิดผลคุณค่าของความตกต่ำเกิดขึ้นมาในทางปฏิบัติอีกร่วมด้วย
 
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights; ICCPR) เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติ ซึ่งระบุถึง สิทธิพลเมืองและ สิทธิทางการเมืองไว้อย่างชัดเจนมาก เพื่อให้มีผลพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ประเทศภาคีสหประชาชาติต่างๆ ได้ยอมรับเพื่อนำไปสู่ทางปฏิบัติสำหรับรายละเอียดดังกล่าวต่อไป
6.3.9 Human rights issue 7: Economic, social and cultural rights
6.3.9.1 Description of the issues
Every person, as a member of society, has economic, social and cultural necessary for his or her dignity and personal development. These include the right to: education; work in just and  favorable conditions; freedom of association; an adequate standard of health; a standard of living adequate for the physical and mental health and well-being of himself or herself and family; food, clothing, housing, medical care and necessary social protection, such as security in the event of unemployment, sickness, disability, death of spouse, old age or other lack of livelihood in circumstances beyond his or her control; the practice of a
religion and culture; and genuine opportunities to participate without discrimination in decision making that supports positive practices and discourages negative practices in relation to these rights [144].
6.3.9.2 Related actions and expectations
To respect these rights, an organizations has a responsibility to exercise due diligence to ensure that it does not engage in activities that infringe, obstruct or impede the enjoyment of such rights. The following are examples of what an organization should do to respect these rights. An organization should assess the possible impacts of its decisions, activities, products and services, as well as new projects, on these rights, including the rights of the local population, Further, it should neither directly nor indirectly limit or deny access to an essential product or resource, such as water. For example, production processes should not compromise the supply of scarce drinking water resources. Organizations should, where appropriate, consider adopting or maintaining specific policies to ensure the efficient distribution of essential goods and services where this distribution is endangered.
A socially responsible organization could also contribute to the fulfilment of such rights, when appropriate, while keeping in mind the different roles and capacities of governments and other organizations related to the provision of these rights.
An organization may consider, for example:
- facilitating access to, and where possible providing support and facilities for, education and lifelong learning for community members;
- joining efforts with other organizations and governmental institutions supporting respect for and realization of economic, social and cultural rights;
- exploring ways related to their core activities to contribute to the fulfilment of these rights; and
- adapting goods or services to the purchasing ability of poor people.
Economic, social and cultural rights, as with any other right, should also be considered in the local context. Further guidance on related actions and expectations is provided in 6.8 on community involvement and development.
คำอธิบาย  
 6.3.9 สิทธิมนุษยชนประเด็นที่ 7: สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
6.3.9.1 คำอธิบายสำหรับประเด็นนี้
        บุคคลทุกคนจัดถือได้ว่า เป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของสังคมแห่งนั้น จึงมีสิทธิเกิดขึ้นเป็นผลขึ้นมาอย่างเด่นชัดทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะจะปรากฏเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการแสดงถึงความมีเกียรติยศ ศักดิ์ศรีที่สง่างาม มีความพากภูมิใจ และมีความเหมาะสมเข้ากับการพัฒนารายละเอียดส่วนตนสำหรับแต่ละรายบุคคลเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นรายละเอียดของสิทธิเหล่านี้ จึงครอบคลุมไปถึงเรื่องทางการศึกษา การทำงานเมื่ออยู่ภายใต้สถานการณ์และเงื่อนไขที่เหมาะสม การมีเสรีภาพในการรวมกลุ่มหรือสมาคม การมีมาตรฐานอย่างเหมาะสมในด้านสุขภาพ การมีมาตรฐานสำหรับการดำรงชีพเกิดขึ้นอยู่ในลักษณะที่พอเพียงต่อสุขภาพทางกายและทางจิตใจขึ้นมาตามลำดับ รวมถึงการมีชีวิตที่ดีขึ้นมาสำหรับตนเอง บุคคลอื่นๆ และครอบครัว ซึ่งรายละเอียดเช่นนี้ยังครอบคลุมลงไปถึงในเรื่องของอาหาร เสื้อผ้า สถานที่อยู่อาศัย การดูแลรักษาด้านการแพทย์ และการช่วยปกป้องคุ้มครองที่จำเป็นทางสังคมในด้านต่างๆ ได้แก่ สิทธิของการได้รับสภาพความมั่นคงในกรณีของการไม่มีการจ้างงาน การเจ็บไข้ได้ป่วย ความพิกลพิการทางร่างกาย การไร้ซึ่งความสามารถ สภาพของความเป็นม่าย การชราภาพ หรือการขาดแคลนอาชีพ/ การทำมาหากินภายใต้สถานการณ์หนึ่งๆ ที่อยู่นอกเหนืออกไปจากความสามารถในการควบคุมขึ้นมาได้ของแต่ละรายบุคคล ความสามารถในการเข้าถึงได้หรือวิธีการฝึกหัดทางศาสนา และวัฒนธรรม และการช่วยเสริมสร้างให้มีโอกาสเกิดขึ้นมาอย่างแท้จริงต่อการเข้าไปมีส่วนร่วม โดยปราศจากผลของการแสดงความกีดกันหรือแบ่งแยกอีกเช่นกันในเรื่องของการตัดสินใจ ซึ่งสามารถช่วยสนับสนุนวิธีการปฏิบัติเชิงบวกที่เป็นผลประโยชน์ที่ดี และในขณะเดียวกันจะเป็นการลดระดับวิธีการปฏิบัติเชิงลบทั้งหลายให้ลดน้อยลงมาได้ตามลำดับสำหรับการแสดงความสัมพันธ์เข้ากับรายละเอียดของสิทธิประการต่างๆ ที่กล่าวถึงเหล่านี้อยู่โดยตรง [144]
6.3.9.2 วิธีปฏิบัติ และความคาดหวังที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้
          เพื่อแสดงความเคารพนับถือในรายละเอียดของสิทธิประการต่างๆ เช่นนั้น องค์การจึงควรแสดงความรับผิดชอบ หรือการมีความปิติยินดีนิยมชื่นชอบขึ้นมาให้เห็นได้อย่างเด่นชัดต่อสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยอาศัยการดำเนินงานที่ผ่านขั้นตอนของการกำหนด หรือประเมินถึงรายละเอียดสิทธิที่สมควรจะได้รับทางกฎหมายออกมาเป็นเบื้องต้นก่อน ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อมั่นขึ้นมาได้ประการแรกว่า องค์การของตนเองจะไม่เข้าไปมีส่วนผูกมัดสำหรับการปฏิบัติงานในลักษณะประการใดๆ ก็ตาม ต่อการมีส่วนที่กระทำเพื่อให้ปรากฏผลออกมาเป็นการละเมิด การเป็นอุปสรรค หรือเข้าไปมีส่วนขัดขวางต่อความปิติยินดีหรือการนิยมชื่นชอบต่อรายละเอียดของสิทธิทั้งหลายเหล่านั้นเป็นเรื่องสำคัญ รายละเอียดที่กล่าวถึงต่อไปนี้ จะถูกยกออกมาให้เห็นเป็นตัวอย่างในเชิงของคำแนะนำเพิ่มเติมว่า องค์การควรจะกระทำหรือปฏิบัติอย่างไรสำหรับการแสดงความเคารพนับถือต่อรายละเอียดของสิทธิต่างๆ เหล่านี้ทุกประการ โดยเฉพาะองค์การเองควรมีการประเมินผลที่อาจเป็นไปได้สำหรับผลกระทบในด้านต่างๆ ที่สืบเนื่องมาจากการตัดสินใจ การปฏิบัติกิจกรรมในลักษณะต่างๆ การสร้างผลิตภัณฑ์/ สินค้าหรืองานบริการ และเช่นเดียวกับการดำเนินงานที่อยู่ภายใต้สภาพของโครงการใหม่ๆ ขึ้นมาสำหรับองค์การแต่ละแห่ง ต่อผลกระทบทางสิทธิทั้งหลายทั้งในด้านมนุษยชน สุขภาพอนามัย และความมั่นคงปลอดภัย ซึ่งอาจครอบคลุมรายละเอียดลงไปในระดับของบุคคลที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ประชากรที่อาศัยอยู่ภายในท้องถิ่น ไปจนถึงผู้ใช้ประโยชน์ในขั้นสุดท้าย เช่น ผู้บริโภค และลูกค้าต่างๆ ได้อีกด้วย นอกจากนี้องค์การยังไม่ควรมีส่วนเกี่ยวข้องทั้งวิธีการทางตรงและทางอ้อมต่อการจำกัดขอบเขต หรือทำการปฏิเสธถึงสิทธิของการเข้าถึงในรายละเอียดสำหรับผลิตภัณฑ์ หรือแหล่งทรัพยากรประเภทต่างๆ ที่มีระดับความสำคัญต่อการใช้ประโยชน์ เช่น น้ำ เป็นต้น ขอยกตัวอย่างให้เห็นได้อย่างชัดเจน เช่น ภายใต้กระบวนการในการสร้างผลิตภัณฑ์ขององค์การแห่งนั้น ไม่ควรแสดงผลของความประนีประนอมต่อแหล่งทรัพยากรน้ำที่มีการค้นหามาได้อย่างจำกัด หรือเมื่อปรากฏมีจำนวนของความขาดแคลนและอัตคัตเกิดขึ้นให้เห็นเป็นผลอยู่โดยตรง เป็นต้น ในทางปฏิบัติที่เหมาะสมอีกเช่นกันนั้น องค์การจึงควรทำการพิจารณา และแสดผลของการยอมรับ หรือมีการดำรงรักษาไว้ ซึ่งนโยบายที่มีรายละเอียดที่จำเพาะเจาะจงบางประการ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจได้ถึงวิธีการกระจายตัวอย่างมีประสิทธิภาพในส่วนของสินค้าหรืองานบริการที่มีลักษณะของความจำเป็นดังกล่าว โดยเฉพาะเมื่ออยู่ภายใต้สภาพของการกระจายตัวเช่นนั้น ปรากฏอยู่ในลักษณะความเสี่ยง หรือมีระดับความเป็นอันตรายเกิดขึ้นให้เห็นเป็นผลอยู่โดยตรง
        องค์การที่แสดงความรับชอบทางสังคมทั้งหลาย จึงควรทำการแบ่งปัน หรือช่วยเหลือสนับสนุนเพื่อก่อให้เกิดผลของการเติมเต็มขึ้นมาอย่างสมบูรณ์ หรือสามารถบรรลุถึงรายละเอียดของสิทธิประการต่างๆ เหล่านั้น ได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ในทางปฏิบัติที่เหมาะสมบางประการ องค์การเองยังควรตระหนักและระลึกถึงอยู่เสมอว่า การแสดงบทบาท และระดับความสามารถที่แตกต่างกันออกไปในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐบาล และองค์การประเภทอื่นๆเช่นนั้น ก็ยังคงมีอิทธิพลต่อการกำหนดรายละเอียดของสิทธิเหล่านี้ได้อีกประการหนึ่งอยู่ร่วมด้วยเสมอ
        องค์การจึงควรทำการพิจารณารายละเอียดของตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
        - ช่วยเอื้ออำนวยให้เกิดการเข้าถึงได้ หรือเมื่อเป็นไปได้อย่างเหมาะสมเช่นนั้นแล้ว ได้มีการจัดเตรียม จัดหา สนับสนุน หรืออนุเคราะห์ให้มีการศึกษา และการเรียนรู้ขึ้นมาอย่างต่อเนื่องสำหรับกลุ่มสมาชิกต่างๆ ที่อยู่ภายในชุมชนแห่งนั้นเป็นประการสำคัญ
        - ใช้ความพยายามร่วมมือกับองค์การอื่นๆ สถาบันภาครัฐที่อยู่ภายนอก ในการทำหน้าที่ช่วยเหลือสนับสนุน เพื่อกระตุ้นก่อให้เกิดผลของการเคารพนับถือ หรือการแสดงถึงความตระหนักในรายละเอียดของสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมขึ้นมาอย่างเป็นรูปธรรม
        - มีการสำรวจแนวทางที่เหมาะสมบางประการ โดยเฉพาะแสดงความเกี่ยวข้องกับกิจกรรมหลักประการต่างๆ ที่สามารถช่วยเหลือ หรือสนับสนุนก่อให้เกิดการบรรลุถึงผลการปฏิบัติต่อรายละเอียดของสิทธิต่างๆ เหล่านั้นได้เป็นอย่างดี-
          - มีการปรับแต่งรายละเอียดของสินค้าหรืองานบริการ เพื่อให้มีความเหมาะสมเข้ากับระดับความสามารถในการซื้อจากกลุ่มประชาชนที่มีสภาพของความยากจนได้โดยตรง
        สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมเช่นนั้น และเช่นเดียวกับสิทธิอื่นๆ ยังควรถูกทำการพิจารณาขึ้นมาเมื่ออยู่ภายใต้บริบทพื้นฐานของผู้ถือสิทธิเหล่านั้นเป็นประการสำคัญ สำหรับรายละเอียดข้อแนะนำเพิ่มเติมประการอื่นๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการปฏิบัติ และความคาดหวังต่างๆ ได้ถูกกำหนดไว้ให้เห็นอย่างชัดเจนด้วยแล้วภายในหัวข้อกำหนดย่อยที่ 6.8 ซึ่งมีการระบุถึงเรื่องการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน และการพัฒนา
 
การศึกษาเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่มุ่งหวังผลต่อการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และยังใช้เป็นเครื่องมือประการสำคัญต่อการส่งเสริม เพื่อให้ได้รับเข้ามาซึ่งการแสดงความปิติยินดีต่อสิทธิประการอื่นๆ อีกร่วมด้วย (ข้อบัญญัติที่ 26 ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน; UDHR)
6.3.10 Human rights issue 8: Fundamental principles and rights at work
6.3.10.1 General
Fundamental principles and rights at work are focused on labor issues. They have been adopted by the international community as basic human rights and as such are covered in the human rights section.
6.3.10.1 Description of the issues
The International Labor Organization (ILO) has identified fundamental rights at work [54]. These include:
- freedom of association and effective recognition of the right to collective bargaining;
- the elimination of all forms of forced or compulsory labor;
- the effective abolition of child labor and
- the elimination of discrimination in regarding employment and occupation.
6.3.10.3 Related actions and expectations
Although these rights are legislated for in many jurisdictions, an organizations should independently ensure that it addresses the following matters:
- freedom of association and collective bargaining [62] [103]: Workers and employers, without distinction whatsoever, have the right to establish and, subject only to the rules of the organization concerned, to join organizations of their own choosing without previous authorization. Representative organizations formed or joined by workers should be recognized for purposes of collective bargaining. Terms and conditions of employment may be fixed by voluntary collective negotiation where workers so choose. Workers' representatives should be given appropriate facilities that will enable them to do their work effectively and allow them to perform their role without interference. Collective agreements should include provisions for the settlement of disputes. Workers' representatives should be provided with information required for meaningful negotiations. (See 6.4 for further information on freedom of association) and on how freedom of association and collective bargaining relate to social dialogue.)
- forced labor [49] [60]: An organization should not engage in or benefit from any use of forced or compulsory labor. No work or service should be exacted from any person under the threat of any penalty or when the work is not conducted voluntarily. An organization should not engage or benefit from prison labor, unless the prisoners have been convicted in a court of law and their labor is under the supervision and control of a public authority. Further, prison labor should not be used by private organizations, unless performed on a voluntary basis, as evidenced by, among other things, fair and decent conditions of employment.
- equal opportunities and non-discrimination [55] [57] [58]: An organizations should confirm that its employment policies are free from discrimination based on race, color, gender, religion, national extraction, social origin, political opinion, age, or disability. Emerging prohibited grounds also include marital or family status, personal relationships, and health status such as HIV/AIDS status. These are in line with the general principle that hiring policies and practices, earnings, employment conditions, access to training and promotion, and termination of employment should be based only on the requirements of the job. Organizations should also take steps to prevent harassment in the workplace.by:
- regularly assessing the impact of its policies and activities on promotion of equal opportunities and non-discrimination;
- taking positive actions to provide for the protection and advancement of vulnerable groups This might include establishing workplaces for persons with disabilities to help them earn a living under suitable conditions, and establishing or participating in programs that address issues such as promotion of employment for youth and older workers, equal employment opportunities for women and more balanced representation of women in senior positions.
- child labor [81] [82] [116] [117]: The minimum age for employment is determined through international instruments (see Box 7). Organizations should not engage in or benefit from any use of child labor. If an organization has child labor in its operations or within its sphere of influence, it should, as far as possible, ensure not only that the children are removed from work, but also that they are provided with appropriate alternatives, in particular education. Light work that does not harm a child or interfere with school attendance or with other activities necessary to the child’s full development (such as recreational activities) is not considered child labor.

 
Box 7 Child labor

 
ILO conventions [81][116] provide the framework for national law to prescribe a minimum age for admission to employment or work that must not be less than the age for completing compulsory schooling, and in any case not less than 15 years. In countries where economic and educational facilities are less well developed, the minimum age may be as low as 14 years. Exception may also be made from 13 or 12 years for "light work" [81][82]. The minimum age for hazardous work — work that is likely to harm the health, safety or morals of the child as a consequence of its nature or the circumstances under which it is carried out — is 18 years of age for all countries [116][117] (see Table below).
The term “child labor” should not be confused with “youth employment” or “student work”, which may be both legitimate and desirable if performed as part of a genuine apprenticeship or training program that complies with applicable laws and regulations.
Child labor is a form of exploitation that is a violation of a human right. Child labor damages a child’s physical, social, mental, psychological and spiritual development. Child labor deprives boys and girls of their childhood and their dignity. They are deprived of an education and may be separated from their families. Children who do not complete their basic education are likely to remain illiterate and never acquire the skills needed to get a job that enables them to contribute to the development of a modern economy. Consequently child labor results in under-skilled, unqualified workers and jeopardizes future improvements of skills in the workforce and future economic and social development. Child labor may also deprive youth and adult workers of work, and depress wages.
Organizations should make efforts to eliminate all forms of child labor. Efforts to eliminate the worst forms of child labor should not be used to justify other forms of child labor. An organization should analyze the different circumstances of girls and boys and the different ways in which children from ethnic populations or populations that are discriminated against are affected, so that preventive and corrective measures can be targeted and effective. When children below the legal working age are found in the workplace, measures should be taken to remove them from work. To the extent possible, an organization should help the child who has been removed from the workplace and his/her family to access adequate services and viable alternatives to ensure that he or she does not end up in the same or a worse situation, either working elsewhere or being exploited.
Effectively eliminating child labor requires broad collaboration in society. An organization should co-operate with other organizations and government agencies to release children from work into free, full-time and quality education.


Developed countries
Developing countries
Regular work
At least 15 years
At least 14 years
Hazardous work
18 years
18 years
Light work
13 years
12 years
คำอธิบาย 
6.3.10 สิทธิมนุษยชนประเด็นที่ 8: หลักการและสิทธิพื้นฐานในการทำงาน
6.3.10.1 บททั่วไป
          หลักการและสิทธิพื้นฐานในการทำงานดังกล่าว ล้วนมุ่งเน้นอยู่บนเรื่องหรือประเด็นที่มีความเกี่ยวข้องด้านแรงงานเป็นประการสำคัญ รายละเอียดเช่นนี้ได้ถูกยอมรับนับถือกันขึ้นมาในระดับชุมชนนานาชาติว่า จะปรากฏออกมาเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน และเนื้อหาเช่นนั้นยังถูกระบุ หรือกล่าวถึงไว้อย่างครอบคลุมอยู่ภายในส่วนของสิทธิมนุษยชนเป็นส่วนใหญ่
6.3.10.2 คำอธิบายสำหรับประเด็นนี้
        รายละเอียดของหัวข้อกำหนดย่อยนี้ จะเกี่ยวข้องกับเรื่องสิทธิมนุษยชนตามที่องค์การแรงงานนานาชาติ (ILO) ได้ทำการระบุชี้บ่ง และถูกกำหนดออกแบบมาให้ปรากฏเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานในการทำงาน [54] โดยครอบคลุมเนื้อหาที่สำคัญ คือ
        - การมีเสรีภาพในการรวมกลุ่ม/ ชุมนุม และการยอมรับนับถือด้วยความมีประสิทธิภาพในเรื่องของสิทธิของการเจรจาต่อรองที่เกิดขึ้นในลักษณะที่เป็นการรวมตัวเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มก้อนตามลำดับ
        - การป้องกัน และต้องการกำจัดสภาพให้หมดสิ้นไปสำหรับทุกรูปแบบของการใช้งานแรงงานโดยการบังคับ หรือการอาศัยกฎเกณฑ์ต่างๆ เข้ามาเป็นเครื่องบังคับอยู่โดยตรง
        - การดำเนินการขึ้นมาอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อล้มเลิกการใช้ประโยชน์จากสภาพของแรงงานเด็กที่เกิดขึ้นอยู่โดยตรง และ
        - การกำจัดและต้องการทำลายสภาพให้หมดสิ้นไปสำหรับการปฏิบัติงานที่มีลักษณะของการเลือกปฏิบัติ การแบ่งแยก การกีดกัน หรือการแสดงความแตกต่างกันเป็นอย่างยิ่งในเรื่องของการจ้างงาน และเมื่ออยู่ภายในโลกของการทำงานด้านวิชาชีพในลักษณะต่างๆ เป็นต้น
6.3.10.3 วิธีปฏิบัติ และความคาดหวังที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้
          ถึงแม้ว่ารายละเอียดของสิทธิเหล่านี้ส่วนใหญ่ ได้ถูกระบุออกมาไว้เป็นกฎหมายในทางนิติบัญญัติและอยู่ภายในขอบเขตของอำนาจศาล หรือการพิจารณาตัดสินคดีความร่วมด้วยก็ตาม แต่ทั้งนี้องค์การควรมีการแสดงความมั่นใจเป็นอย่างยิ่งว่า จะต้องมีการพิจารณาหรือทำการระบุรายละเอียดของประเด็นต่างๆ เหล่านี้ขึ้นมาอีกร่วมด้วยเสมอ ได้แก่
          - เสรีภาพในการรวมกลุ่ม/ สมาคม และการเจรจาต่อรองร่วมกัน [62] [103]: โดยทั่วไปแล้วคนงานหรือพนักงานต่างๆ ที่ล้วนไม่แสดงผลของความแตกต่างกันมากเท่าใดนัก ส่วนใหญ่จะปรากฏมีสิทธิในการจัดตั้งขึ้นมา หรือแสดงความเกี่ยวข้องอยู่โดยตรงกับรายละเอียดของกฎเกณฑ์ประการต่างๆ ที่องค์การส่วนใหญ่ได้ทำการพิจารณาหรือถูกกำหนดรายละเอียดไว้ล่วงหน้า ทั้งนี้เพื่อต้องการแสดงผลของการปฏิบัติงานโดยอาศัยการตัดสินใจเข้าร่วมเป็นไปด้วยสภาพตนเอง หรือปราศจากการบังคับขู่เข็นอยู่เป็นส่วนใหญ่ ในทางปฏิบัติตัวแทนด้านแรงงานทั้งหลายในระดับองค์การ ซึ่งมีการจัดตั้ง หรือเกิดขึ้นมาจากการประสานตัวเข้าด้วยกันโดยกลุ่มพนักงานต่างๆ เช่นนั้น ยังสมควรเป็นเรื่องที่ยอมรับกันได้ในกรณีของการมีวัตถุประสงค์หลักสำหรับการเจรจาต่อรองร่วมในลักษณะที่รวมตัวเข้าด้วยกัน เพื่อให้ทำหน้าที่ดังกล่าวออกมาอย่างชัดเจน หรือได้ผลเกิดขึ้นมากที่สุด ในรายละเอียดอีกประการหนึ่งที่ควรพิจารณาก็คือ ช่วงระยะเวลา และรายละเอียดเงื่อนไขของการจ้างงาน อาจถูกกำหนดไว้อย่างคงที่แน่นอนตายตัวก็ได้ ซึ่งก็เป็นผลสืบเนื่องมาจากการประชุมเจรจาตกลงร่วมกันด้วยความสมัครใจ และโดยอาศัยวิธีการตัดสินใจของพนักงานเองเป็นผู้เลือกหรือกำหนดขึ้นมาเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะตัวแทนพนักงานจำเป็นต้องดำเนินการหรือกำหนดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกประเภทต่างๆ ขึ้นมารองรับอย่างเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อช่วยส่งเสริมให้มีการปฏิบัติงานดำเนินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถช่วยกระตุ้นก่อให้เกิดผลการปฏิบัติงานตอบสนองเป็นไปตรงตามบทบาทหน้าที่เช่นนั้น ดำเนินเป็นไปได้โดยปราศจากการแทรกแซงประการใดๆ ขึ้นมาทั้งสิ้น สำหรับรายละเอียดสัญญา/ ข้อตกลงร่วมต่างๆ ที่ได้รับขึ้นมาจากการประชุมในลักษณะที่เป็นกลุ่มก้อนดังกล่าวเช่นนี้ จึงควรครอบคลุมรายละเอียดในเรื่องของการจัดเตรียม/ การจัดหาสำหรับมติ/ ข้อตกลงที่ได้รับขึ้นมาอย่างแน่นอนจากการอภิปราย มีการถกเถียงหรือโต้แย้งเกิดขึ้นอยู่ร่วมด้วยเสมอ นอกจากนี้ตัวแทนด้านแรงงานเหล่านั้น ยังควรทำหน้าที่ในการจัดเตรียม หรือค้นหาข้อมูล/ แหล่งสารสนเทศส่วนใหญ่ที่ต้องการใช้ประโยชน์สำหรับการเจรจาอย่างมีความหมายอีกประการหนึ่งด้วย (ส่วนรายละเอียดอื่นๆ อาจพิจารณาเพิ่มเติมขึ้นมาได้จากหัวข้อกำหนดย่อยที่ 6.4 ซึ่งระบุถึงสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งในเรื่องสิทธิเสรีภาพในการรวมกลุ่ม หรือการเจรจาต่อรองร่วมในลักษณะที่เป็นกลุ่มก้อนเช่นนั้น จะแสดงความสัมพันธ์เข้ากับเรื่องของการพบปะ/ เจรจาหารือทางสังคมกันได้อย่างไรอยู่ร่วมด้วย เป็นต้น)
 
การเจรจาต่อรองร่วมเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานสำหรับ การรวมตัวกัน (Collective)” เพื่อก่อให้เกิด อำนาจต่อรอง (Bargaining Power)” และสามารถใช้เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้ข้อยุติ หรือ สัญญาข้อตกลงร่วม (Collective Agreement)” ที่ปรากฏเป็นผลพึงพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่าย (นายจ้าง/ ตัวแทนลูกจ้างหรือองค์การทั้งสองฝ่าย)
        - การบังคับใช้แรงงาน [49] [60]: องค์การจึงไม่ควรแสดงผลของการผูกมัดด้วยตนเอง และ/หรือการได้รับผลประโยชน์บางประการเพิ่มเติมขึ้นมาจากการใช้ประโยชน์ในลักษณะใดๆ ที่เป็นการบังคับด้านแรงงานหรืออาศัยกฎเกณฑ์ต่างๆ เข้ามาควบคุมเป็นผลอยู่โดยตรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งไม่ควรมีลักษณะของการทำงานหรืองานบริการในลักษณะใดๆ ก็ตาม ที่ต้องมีสภาพเป็นเรื่องของการถูกขู่เข็ญหรือบังคับสกัดเอามาเป็นส่วนตนจากบุคคลหนึ่งบุคคลใด โดยอาศัยการกระทำที่อยู่ภายใต้เงื่อนไขวิธีการปฏิบัติงานที่เป็นไปอย่างข่มขู่ด้วยการกำหนดบทลงโทษอย่างรุนแรง หรือในเมื่อบุคคลรายนั้น ไม่ได้แสดงความพร้อมหรือยินยอมด้วยความสมัครใจสำหรับการปฏิบัติงานร่วมด้วยดังกล่าว องค์การแห่งหนึ่งๆ จึงไม่ควรแสดงการผูกมัดตนเอง หรือได้รับผลประโยชน์ขึ้นมาจากแรงงานที่ปรากฏสภาพเป็นนักโทษ ยกเว้นแต่ว่า บรรดานักโทษเหล่านั้น ได้ถูกตัดสินหรือลงโทษว่า ได้กระทำความผิด โดยอาศัยอำนาจหน้าที่ของศาล และสภาพของการทำงานดังกล่าวเช่นนั้น ยังคงปรากฏอยู่ภายใต้การดูแลหรือถูกควบคุมมาจากหน่วยงานสาธารณะที่มีอำนาจหน้าที่เช่นนั้นอยู่โดยตรง นอกจากนี้แรงงานนักโทษ ยังควรไม่ถูกนำไปใช้ประโยชน์โดยองค์การภาคเอกชนอีกด้วย ยกเว้นแต่ว่า การกระทำเช่นนั้น จะปรากฏอยู่บนพื้นฐานของความสมัครใจ และเท่าที่ปรากฏเป็นหลักฐานสรุปผลสุดท้ายออกมาให้เห็นได้อย่างชัดเจนมากที่สุดในทางปฏิบัติก็คือ ต้องมีการปฏิบัติด้านแรงงานเป็นไปด้วยความยุติธรรม และปรากฏอยู่ในสภาพหรือเงื่อนไขที่เหมาะสมสำหรับการจ้างงานเช่นนั้นอีกประการหนึ่งด้วย
        - การได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียม และการไม่เลือกปฏิบัติ การแบ่งแยก กีดกัน หรือส่อให้เห็นถึงความแตกต่างขึ้นมาตามลำดับ [55] [57] [58]: ทั้งนี้องค์การควรทำการยืนยันในรายละเอียดของนโยบายด้านแรงงานได้ว่า ล้วนจำเป็นต้องปราศจากการกีดกันและแบ่งแยกสภาพจากรายละเอียดความแตกต่างที่เกิดขึ้นทั้งในด้านเชื้อชาติ สีผิว ลักษณะทางเพศ ศาสนา การสกัดหรือคัดแยกออกไปจากลักษณะของความเป็นชาติ ต้นกำเนิดทางสังคม ความคิดเห็นทางการเมือง อายุ หรือสภาพพิกลพิการทางร่างกาย เป็นต้น นอกจากรายละเอียดที่เป็นพื้นฐานของข้อยับยั้งหรือไม่ควรปฏิบัติ ยังถูกกำหนดเพิ่มเติมขึ้นมาอีกร่วมด้วย ได้แก่ สถานภาพทางการแต่งงานและครอบครัว ความสัมพันธ์ส่วนบุคคล และสถานภาพทางสุขภาพ เช่น การปรากฏโรคร้าย HIA/AIDS เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีรายละเอียดที่ปรากฏออกมาเป็นหลักการโดยทั่วไปอยู่ร่วมด้วยอีกประการหนึ่ง โดยเฉพาะการมุ่งเน้นในเรื่องของนโยบายการจ้างงานและวิธีการปฏิบัติ การได้รับค่าจ้าง เงื่อนไขของการจ้างงาน การเข้าถึงสภาพของการฝึกอบรมเพิ่มเติมและการสนับสนุนเลื่อนชั้นในหน้าที่การงาน และการสิ้นสุดสภาพของการจ้างงาน เป็นต้น ล้วนจำเป็นต้องยึดถืออยู่บนพื้นฐานความต้องการของการจ้างงานอยู่เป็นส่วนใหญ่แทบทั้งสิ้น เพราะฉะนั้นองค์การจึงจำเป็นต้องดำเนินการเป็นขั้นตอนบางประการเพิ่มเติมขึ้นมา ทั้งนี้เพื่อเป็นการป้องกันการล่วงละเมิดที่เกิดขึ้นภายในสถานที่ทำงานแห่งนั้นอีกร่วมด้วย โดยอาศัยการปฏิบัติ ดังนี้
        - มีการประเมินเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอในรายละเอียดของผลกระทบประการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายหรือกิจกรรมในลักษณะต่างๆ ขึ้นมา เพื่อทำการสนับสนุน หรือช่วยส่งเสริมก่อให้เกิดผลของการสร้างโอกาสอย่างเท่าเทียมซึ่งกันและกัน หรือไม่ก่อให้เกิดผลของการกีดกันหรือแบ่งแยกสภาพขึ้นมาได้ตามลำดับ
        - มีการปฏิบัติงานในเชิงบวก ทั้งนี้เพื่อกระตุ้นก่อให้เกิดการป้องกัน หรือเพิ่มเติมความก้าวหน้าให้เกิดขึ้นกับกลุ่มบุคคลที่อ่อนแอหรือต้องการได้รับการใส่ใจเป็นพิเศษอยู่เป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะจะต้องครอบคลุมรายละเอียดลงไปในเรื่องของการจัดเตรียมสถานที่ทำงานขึ้นมาสำหรับบุคคลที่ปรากฏสภาพพิกลพิการทางร่างกาย ทั้งนี้เพื่อต้องการเข้าไปช่วยเหลือทำให้มีสภาพของการดำรงชีพปรากฏอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่มีความเหมาะสมทุกประการ และยังเป็นเรื่องของการยินยอมพร้อมใจ เพื่อให้เข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานที่มีความสอดคล้องเป็นไปตรงตามรายละเอียดของโครงการที่กำหนดไว้ให้ในบางลักษณะ ซึ่งจัดถือได้ว่า เป็นการช่วยสนับสนุนให้เกิดสภาพการจ้างงานขึ้นมาสำหรับคนหนุ่มสาว หรือคนงานประเภทสูงอายุ รวมไปถึงยังเป็นการเสริมสร้างโอกาสในการจ้างงานที่มีความเท่าเทียมกันขึ้นมาสำหรับผู้หญิง หรือเป็นเรื่องของการรักษาสภาพที่สมดุลในการแสดงตนออกมาเป็นกลุ่มตัวแทนของผู้หญิงที่ปรากฏว่า เป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารอยู่ส่วนหนึ่งภายในองค์การแห่งนั้นได้อีกประการหนึ่งด้วย
        - แรงงานเด็ก [81] [82] [116] , 45, 79, 80]: องค์การไม่ควรแสดงความผูกมัดตนเอง และ/หรือได้รับผลประโยชน์ขึ้นมาจากการปฏิบัติใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้แรงงานเด็ก สำหรับการกำหนดอายุต่ำสุดสำหรับการจ้างงาน ซึ่งมีการกล่าวถึงไว้อย่างชัดเจนจากรายละเอียดภายในเครื่องมือประเภทต่างๆ ในระดับนานาชาติ และจากมาตรฐานแรงงานระดับนานาชาติ ได้ทำการระบุถึงอายุขั้นต่ำไว้ประมาณ 15 ปี สำหรับประเภทงานโดยทั่วๆ ไป และอายุ 14 ปี สำหรับความต้องการในประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลายบางประเทศ (พิจารณาตารางข้างล่างประกอบด้วย) เพราะฉะนั้นเมื่อองค์การค้นพบอย่างชัดเจนว่า มีการใช้ประโยชน์จากแรงงานเด็กที่มีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการปฏิบัติงาน หรือเมื่อตกอยู่ภายใต้ขอบเขตของปัจจัยที่มีอิทธิพลสำหรับองค์การแห่งนั้น ที่จะต้องมีการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ไม่เพียงแต่จะก่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า นอกจากจำเป็นจะต้องมีการยกสภาพการใช้แรงงานเด็กให้หลุดพ้นออกไปจากวิธีการปฏิบัติงานเหล่านั้นทั้งหมดแล้ว ยังจะต้องมีการกำหนดแนวทางเลือกในลักษณะต่างๆ ที่แสดงความเหมาะสมขึ้นมาทดแทนอีกประการหนึ่งอยู่ร่วมด้วย โดยเฉพาะวิธีที่ควรปฏิบัติเป็นอย่างยิ่งก็คือ การให้การศึกษากับกลุ่มเด็กเหล่านั้นเกิดขึ้นเป็นผลได้โดยตรง สำหรับลักษณะของประเภทงานเบา ซึ่งล้วนไม่ก่อให้เกิดความเป็นอันตรายขึ้นมาต่อเด็ก หรืออาจมีผลแทรกแซงต่อสภาพการเข้าไปโรงเรียน หรือการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยจะส่งผลขึ้นมาต่อการพัฒนาอย่างสมบูรณ์ของเด็ก (ยกตัวอย่างเช่น กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสันทนาการ เป็นต้น) จะถูกพิจารณาว่า ไม่มีรายละเอียดของความเกี่ยวข้องกับการใช้แรงงานเด็กแต่ประการใด
กล่อง 7 แรงงานเด็ก
รายละเอียดที่กำหนดไว้อยู่ภายในอนุสัญญาของ ILO [81] [116] ได้ให้กรอบแนวทางการปฏิบัติสำหรับกฎหมายประจำชาติ โดยมีการบัญญัติ หรือแนะนำถึงระดับอายุขั้นต่ำที่อนุญาตให้มีการว่าจ้าง หรือสามารถทำงานได้ ซึ่งจะต้องปรากฏไม่น้อยกว่าอายุในการสำเร็จระดับการศึกษาภาคบังคับภายในโรงเรียนแห่งนั้น และในกรณีใดๆ ก็ตามจะต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี สำหรับในประเทศที่มีกลไกทางเศรษฐกิจ และสิ่งอำนวยความสะดวกทางการศึกษาเกิดขึ้นเป็นผลที่น้อยกว่าประเทศที่พัฒนาแล้วนั้น อายุขั้นต่ำอาจปรากฏให้พบเห็นได้จนถึงอายุ 14 ปี นอกจากนี้ยังมีข้อยกเว้นบางประการที่อาจเป็นไปได้จนถึงอายุ 13 หรือ 12 ปี สำหรับการทำงานในลักษณะของประเภทที่เรียกว่า งานเบา [81] [82] ในกรณีของอายุขั้นต่ำสำหรับการทำงานในประเภทที่เป็น งานอันตราย ซึ่งลักษณะงานส่วนใหญ่มีผลกระทบของความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ความปลอดภัย และทางศีลธรรมขึ้นมาสำหรับเด็ก โดยเป็นผลสืบเนื่องที่สอดคล้องเป็นไปตรงตามลักษณะทางธรรมชาติ หรือเมื่ออยู่ภายใต้สถานการณ์หนึ่งๆ ที่เกิดขึ้นร่วมด้วยสำหรับการจ้างงานครั้งนั้น ก็สมควรจะต้องมีอายุ 18 ปี เป็นอย่างต่ำสำหรับการจ้างงานเกือบในทุกประเทศทั่วโลก [116] [117] (พิจารณารายละเอียดจากตารางข้างล่างนี้ประกอบด้วย)
ส่วนคำว่า แรงงานเด็ก ก็ไม่สมควรใช้ปะปนหรือสับสนกับคำว่า การจ้างงานในวัยหนุ่มสาว หรือ การทำงานของนักศึกษา ซึ่งอาจพบเห็นขึ้นมาได้ทั้งในลักษณะที่เป็นความถูกต้องทางกฎหมาย และ/ หรือเป็นส่วนหนึ่งของความต้องการที่ถูกกระทำขึ้นมา โดยแสดงผลความเกี่ยวข้องกับการฝึกหัดงานที่แท้จริง หรือเมื่ออยู่ภายใต้โครงการฝึกอบรมประเภทต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะมีการแสดงความเคารพนับถือ หรือต้องปฏิบัติให้สอดคล้องตรงต่อรายละเอียดทางกฎหมาย และกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอยู่โดยตรง
แรงงานเด็กยังจัดเป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน ซึ่งถือว่า มีสภาพเป็นการละเมิดส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชนโดยทั่วไป การใช้แรงงานเด็กยังส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นมาต่อลักษณะทางกายภาพ สังคม จิตใจ การพัฒนาด้านจิตวิทยาและจิตวิญญาณที่อยู่ภายในตนเองของเด็กได้โดยตรง การใช้แรงงานเด็กยังมีส่วนต่อการกีดกันทั้งเด็กชาย และเด็กหญิงจากการดำรงชีวิตสภาพของความเป็นเด็กไว้ และครอบคลุมรวมไปถึงการมีเกียรติ ศักดิ์ศรี และความพากภูมิใจในส่วนตนเกิดขึ้นได้ตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีส่วนต่อการทำให้หมดสิ้นสภาพลงไปในเรื่องของโอกาสในการได้รับการศึกษา หรือบางครั้งจะปรากฏผล โดยเป็นส่วนหนึ่งของการถูกคัดแยกออกไปจากการเลี้ยงดูของครอบครัวดังเช่นในสภาพปรกติ เพราะฉะนั้นเด็กๆ แต่ละรายเมื่อไม่ได้รับผลที่เกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์สำหรับการมีการศึกษาขั้นพื้นฐานเช่นนั้นแล้ว จึงค่อนข้างส่งผลก่อให้เกิดสภาพของการไม่รู้หนังสือขึ้นมา และยังปรากฏว่า เป็นส่วนหนึ่งที่ยังคงไม่เคยได้รับการเพิ่มเติมสำหรับการเพิ่มพูนทักษะในลักษณะต่างๆ ซึ่งมีความจำเป็นต่อการการทำงานในขั้นตอนต่อไป โดยเฉพาะการยกระดับหรือสามารถช่วยเหลือในการแบ่งปันสนับสนุนต่อการพัฒนาเศรษฐกิจยุคใหม่ให้เห็นผลออกมาได้เป็นอย่างดี เพราะฉะนั้นผลลัพธ์ที่สืบเนื่องและเกิดติดตามมาอีกประการหนึ่งก็คือ การใช้แรงงานเด็กจะช่วยส่งผลก่อให้เกิดการสร้างทักษะที่ต่ำกว่าเกณฑ์ การปรากฏสภาพของการเป็นแรงงานที่ไร้ฝีมือ หรือมีคุณลักษณะที่ไม่เหมาะสมตรงตามสภาพงานที่ต้องกระทำอยู่เป็นส่วนใหญ่ และในที่สุดย่อมส่งผลความเป็นอันตรายต่อการพัฒนาทักษะขึ้นมาในอนาคตข้างหน้าเมื่ออยู่ภายใต้สถานที่ทำงานแต่ละแห่ง รวมไปถึงยังส่งผลกระทบต่ออนาคตของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมได้อีกร่วมด้วย โดยทั่วไปแล้วการใช้แรงงานเด็ก ยังมีส่วนต่อการกีดกันทั้งในส่วนของคนงานวัยหนุ่มสาวหรือวัยผู้ใหญ่ โดยเฉพาะในเรื่องที่สำคัญที่เกี่ยวข้องก็คือ การกดขี่ค่าแรงงานนั่นเอง
องค์การจึงควรใช้ความพยายามทั้งหลาย เพื่อต้องการกำจัดให้หมดสิ้นสภาพลงไปสำหรับทุกรูปแบบของการใช้ประโยชน์จากแรงงานเด็ก โดยเฉพาะความพยายามเพื่อต้องการกำจัดรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็กเหล่านั้น จึงไม่สมควรถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินสำหรับการใช้แรงงานเด็กที่อาจเป็นผลเกิดขึ้นมาได้ในลักษณะหรือรูปแบบประการอื่นๆ เป็นต้น โดยทั่วไปแล้วองค์การควรทำการวิเคราะห์ค้นหาภายใต้สถานการณ์ต่างๆ กันสำหรับกรณีที่ทั้งเด็กชาย และเด็กหญิง และเมื่อพบอยู่ภายใต้แนวทางของการดำเนินงานที่แตกต่างกัน ซึ่งเด็กๆ เหล่านั้น ล้วนอาจมาจากประชากรที่มีลักษณะทางชาติพันธุ์ต่างๆ หรือเมื่อปรากฏออกมาเป็นประชากร ซึ่งได้รับผลพวงมาจากการได้รับการแบ่งแยกหรือถูกกีดกันสภาพเป็นเรื่องสำคัญ เพราะฉะนั้นการกำหนดมาตรการทั้งในเชิงป้องกันหรือแก้ไขขึ้นมาอยู่ร่วมด้วย พร้อมทั้งมีการกำหนดออกมาให้เห็นเป็นเป้าหมายที่เด่นชัด จึงค่อนข้างจะเป็นแนวทางของการปฏิบัติที่ดี หรือมีประสิทธิภาพอีกประการหนึ่งต่อการช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้หมดสิ้นลงไปได้ตามลำดับ นอกจากนี้เมื่อพบแรงงานเด็ก มีอายุเกิดขึ้นอยู่ในช่วงที่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับอายุการทำงานภายในสถานที่ทำงานแต่ละแห่งนั้น การกำหนดมาตรการปฏิบัติที่ชัดเจน โดยเฉพาะเมื่อองค์การทำการเคลื่อนย้ายแรงงานเด็กเหล่านี้ออกไปแล้วในเบื้องต้น จึงถือได้ว่า เป็นเรื่องที่สมควรกระทำเป็นอย่างยิ่ง ในทางปฏิบัติที่เป็นไปได้อีกประการหนึ่งก็คือ องค์การจึงควรทำการช่วยเหลือแรงงานเด็ก โดยเมื่อเกิดการเคลื่อนย้ายออกไปจากสถานที่ทำงานในแต่ละแห่ง หรือเมื่อเกิดเป็นผลขึ้นมาจากสภาพทางครอบครัวของทั้งเด็กชายและเด็กหญิงเหล่านั้น ให้สามารถมีการเข้าถึงได้หรือได้รับงานบริการที่ล้วนดำเนินเป็นไปได้อย่างเหมาะสม รวมไปถึงยังสามารถกำหนดแนวทางเลือกที่เป็นไปได้ประการต่างๆ ขึ้นมาเสริมอีกร่วมด้วย ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า พวกเด็กชายและเด็กหญิงเหล่านั้น ไม่ได้รับผลกระทบเกิดขึ้นมาในลักษณะเช่นเดียวกับ หรือการเกิดขึ้นเมื่ออยู่ภายใต้สถานการณ์ที่เลวร้ายและย่ำแย่ที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการทำงานในลักษณะใดๆ หรือเมื่ออยู่ภายใต้อิทธิพลของการถือเป็นผลประโยชน์ส่วนตนขึ้นมาเป็นอย่างมากก็ตาม
การกำจัดให้หมดสิ้นลงไปสำหรับการใช้แรงงานเด็ก ยังต้องการความร่วมมือกันภายใต้ขอบเขตที่กว้างขวางเป็นอย่างยิ่งเมื่อยู่ภายใต้สังคมแห่งนั้น องค์การแต่ละแห่งจึงควรแสดงความร่วมมือกับองค์การภายนอกอื่นๆ และหน่วยงานจากภาครัฐบาล ทั้งนี้เพื่อต้องการทำการปลดปล่อยกลุ่มเด็กเหล่านั้นออกไปจากสภาพของการทำงาน และให้ปรากฏผลของความเป็นอิสระ หรือสามารถได้รับประโยชน์ทางการศึกษาเพิ่มเติมขึ้นมาในลักษณะที่มีคุณภาพ และประกอบไปด้วยการเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา
อายุขั้นต่ำสำหรับแรงงานเด็กที่ได้รับการอนุญาตให้สามารถจ้างงาน หรือทำงานได้

ประเทศที่พัฒนา
ประเทศกำลังพัฒนา
งานปรกติโดยทั่วไป
อย่างต่ำ 15 ปี
อย่างต่ำ 14 ปี
งานอันตราย
18 ปี
18 ปี
งานเบา
13 ปี
12 ปี
XXXXXXXXX

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น