บทที่ 5
การอธิบายความหมาย และรายละเอียดของมาตรฐาน ISO 26000 ฉบับ FDIS (Explanation of ISO/SR 26000; Final Draft International Standard)
ตอนที่ 23: หัวข้อกำหนด 6.3.3-6.3.7 - สิทธิมนุษยชนประเด็นที่ 1-5
6.3.3 Human rights issue 1: Due diligence |
6.3.3.1 Description of the issues |
To respect human rights, organizations have a responsibility to exercise due diligence to become identify, prevent and address actual or potential human rights impacts resulting from their activities or the activities of those with which they have relationships. Due diligence may also alert an organization to a responsibility to influence the behavior of others, where they may be the cause of human rights violations in which the organization may be implicated. |
6.3.3.2 Related actions and expectations |
Because due diligence applies to all core subjects, including human rights, further guidance on due diligence may be found in 7.3.1. Specific to human rights, a due diligence process, should in a manner that is appropriate to the organization's size and circumstances, include the following components; |
- a human rights policy for the organization that gives meaningful guidance to those within the organization and those closely linked to the organization; |
- means of assessing how existing and proposed activities may affect human rights; |
- means of integrating the human rights policy throughout the organization; |
- means of tracking performance over time, to be able to make necessary adjustments in priorities and approach; and |
- actions to address the negative impacts of its decisions and activities. |
คำอธิบาย 
6.3.3 สิทธิมนุษยชนประเด็นที่ 1: การประเมินถึงผลกระทบหรือสิทธิอันควรจะได้รับตามกฎหมายก่อนเป็นการล่วงหน้า
6.3.3.1 คำอธิบายสำหรับประเด็นนี้
การกำหนด/ การประเมินถึงผลกระทบหรือสิทธิอันควรจะได้รับตามกฎหมายเมื่อพิจารณาอยู่ภายใต้บริบทของ SR เช่นนี้ จะหมายความไปถึงการใช้ความพยายามในเชิงรุกอย่างแรงกล้า และการดำเนินงานที่เป็นไปอย่างครอบคลุมและกว้างขวางทุกประการ ทั้งนี้เพื่อต้องการระบุ/ ชี้บ่งถึงลักษณะความเสี่ยง และผลกระทบทั้งหลายที่อาจพบเห็นออกมาได้ในระหว่างวงจรชีวิตที่แสดงความเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานที่มีลักษณะเป็นโครงการ หรือการปฏิบัติกิจกรรมประเภทต่างๆ ขององค์การแห่งนั้น ทั้งนี้ด้วยจุดมุ่งหมายที่ต้องการมุ่งเน้นในการหลีกเลี่ยง หรือต้องการทำให้ระดับความเสี่ยงทั้งหลายเหล่านั้น มีสภาพที่ลดลงมาได้ตามลำดับเป็นประการสำคัญ สำหรับรายละเอียดของการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องงานด้านสิทธิมนุษยชนเช่นนั้น ยังมุ่งหมายไปถึงกระบวนการปฏิบัติงานต่างๆ ที่นอกเหนือออกไปจากเป็นการปฏิบัติงาน เพื่อมุ่งก่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า มีลักษณะที่เป็นผลสอดคล้องเข้ากับรายละเอียดที่ปรากฏเป็นข้อกำหนดหรือกฎเกณฑ์ทางกฎหมายแล้วนั้น ยังมีผลเกิดขึ้นอีกร่วมด้วยต่อความสามารถในการบริหาร/ จัดการรายละเอียดที่ปรากฏเป็นผลกระทบความเสี่ยงทั้งหลายเหล่านี้ ในมุมมองที่ว่า จะทำให้เกิดขึ้นได้น้อยลง หรือสามารถหลีกเลี่ยงระดับความเสี่ยงทั้งหลายที่เป็นอันตรายทั้งทางสังคม และสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร เป็นต้น ดังนั้นการแสดงความเคารพนับถือต่อรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนเช่นนั้น องค์การจึงควรมีส่วนในความรับผิดชอบต่อการประพฤติปฏิบัติในลักษณะของการให้ได้มาสำหรับการประเมิน หรือการกำหนดถึงรายละเอียดที่มีความสอดคล้องเป็นไปตรงตามสิทธิที่กำหนดไว้ให้ทุกประการ โดยอาศัยการสร้างความตระหนัก การระบุ/ชี้บ่ง การป้องกัน การกำหนดและประเมินผลกระทบในเชิงลบที่เกิดขึ้นมาอย่างได้ผลที่แท้จริง หรือค่อนข้างมีลักษณะที่ปรากฏออกมาเป็นปัญหาที่เป็นแนวโน้มด้านสิทธิมนุษยชนทั้งหลาย ซึ่งล้วนอาจเป็นผลลัพธ์ที่สืบเนื่องมาจากการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ขององค์การแห่งนั้น และ/ หรืออาจมาจากระดับความสัมพันธ์ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องอยู่กับการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ เหล่านั้นอยู่โดยตรงก็ได้อีกเช่นกัน การกำหนดหรือประเมินถึงสิทธิอันควรจะได้รับดังกล่าว จึงมีรายละเอียดที่ครอบคลุม และค่อนข้างมีอิทธิพลในภาพรวมทั้งหมดต่อการแสดงพฤติกรรมของกลุ่มต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์การแห่งนั้น โดยเฉพาะสามารถทำการระบุ/ ชี้บ่งออกมามาได้อย่างชัดเจนว่า จะปรากฏออกมาเป็นสาเหตุหรือปัจจัยหลักสำหรับการส่งผลกระทบต่อปัญหาในเรื่องของการละเมิดด้านสิทธิมนุษยชนสำหรับองค์การแห่งนั้นได้เกิดขึ้นมาเป็นผลอยู่ร่วมด้วยหรือไม่ในขณะนั้นๆ เป็นต้น
6.3.3.2 วิธีปฏิบัติ และความคาดหวังที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้
ในกระบวนการของการกำหนด/ การประเมินถึงผลกระทบหรือสิทธิอันควรจะได้รับตามกฎหมายใดๆ ขึ้นมาก็ตาม องค์การควรทำการพิจารณารายละเอียดภายใต้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องทั้ง 3 องค์ประกอบ กล่าวคือ ประการแรก ได้แก่ บริบทในระดับประเทศ ซึ่งองค์การแห่งนั้นกำลังดำเนินการปฏิบัติงานอยู่หรือมีกิจกรรมต่างๆ เกิดขึ้นอยู่เป็นประการสำคัญ ประการที่สองจะเกี่ยวข้องกับรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏออกมาเป็นปัญหาหรือเมื่อเป็นผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนทั้งหลายที่อาจเกิดขึ้นได้ในลักษณะที่พบออกมาเป็นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมาได้อย่างแท้จริง ซึ่งมีสาเหตุสืบเนื่องมาจากการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ขององค์การในขณะนั้นๆ และประการที่สาม ก็คือ ลักษณะของปัญหาที่มีสภาพเป็นแนวโน้มต่อการเกิดขึ้นของการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งอาจเป็นผลสืบเนื่องมาจากการปฏิบัติงานในส่วนอื่นๆ ที่มีอยู่จริง ตลอดจนการดำเนินกิจกรรมประเภทต่างๆ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเช่นนั้น เป็นต้น ล้วนต่างมีนัยสำคัญในการเชื่อมโยงเข้ากับการปฏิบัติงานขององค์การแห่งนั้นได้ตามลำดับ ประกอบกับการประเมินถึงรายละเอียดที่เกี่ยวเนื่องกับผลกระทบเช่นนั้น ยังสามารถประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้กับทุกรายละเอียดของเนื้อหาหลักด้าน SR ที่เกี่ยวข้องอยู่โดยตรง และยังครอบคลุมไปถึงเรื่องสิทธิมนุษยชนอีกประการหนึ่งด้วย โดยเฉพาะรายละเอียดที่สำคัญประการอื่นๆ อาจศึกษาเพิ่มเติมได้จากภายในหัวข้อกำหนดที่ 7.3.1 ของร่างมาตรฐานฉบับนี้ เมื่อกล่าวถึงอย่างจำเพาะเจาะจงในส่วนของสิทธิมนุษยชนนั้น ก็ยังควรพิจารณารายละเอียดประการอื่นๆ ที่ครอบคลุมอยู่ภายในกระบวนการสำหรับการประเมินหรือกำหนดสิทธิอันควรจะได้รับตรงตามรายละเอียดกฎหมายที่กำหนดไว้เช่นนั้น ให้มีลักษณะสอดคล้องเป็นไปในแนวทางที่เหมาะสมกับขนาดขององค์การ และต้องมีความสอดคล้องเข้ากับสภาวการณ์หรือปัจจัยต่างๆ ที่เกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดความน่าเชื่อถือขึ้นมาภายใต้องค์ประกอบที่สำคัญที่ต้องคำนึงถึงอยู่ร่วมด้วยอีกหลายประการ เช่น
- มีการกำหนดนโยบายสิทธิมนุษยชนสำหรับองค์การขึ้นมาให้เห็นได้อย่างเด่นชัด ซึ่งจะปรากฏสภาพของการเป็นแนวทางการปฏิบัติที่ดีให้กับส่วนงานต่างๆ ภายในองค์การได้ยึดถือปฏิบัติต่อไป และรวมไปถึงการเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดเข้ากับองค์การต่างๆ ที่อยู่ภายนอกได้อีกด้วย
- มีแนวทางของการประเมินผลที่ว่า การดำเนินกิจกรรมประเภทต่างๆ ที่มีอยู่จริงในขณะนั้นๆ และรวมไปถึงกิจกรรมประเภทใหม่ๆ ที่ถูกนำเสนอขึ้นมาโดยองค์การแห่งนั้น อาจจะส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนขึ้นมาได้อย่างไร ซึ่งรายละเอียดต้องดำเนินเป็นไปอย่างเหมาะสมต่อประเภทขององค์การ และพื้นที่ที่เข้าไปดำเนินกิจกรรมต่างๆ เหล่านั้นอีกร่วมด้วย
- มีแนวทางของการบูรณาการสำหรับนโยบายสิทธิมนุษยชนขององค์การให้แพร่กระจาย และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างทั่วถึงทั้งองค์การแห่งนั้นได้ตามลำดับ
- มีแนวทางของการติดตามผลการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นภายใต้ช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ ซึ่งต้องกระทำเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้สามารถดำเนินการปรับแต่งวิธีการปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยอาศัยการจัดลำดับความสำคัญ และการปฏิบัติงานเพื่อให้มีความสอดคล้องเป็นไปได้ตรงตามแนวความคิดหลักที่เหมาะสมเป็นเรื่องสำคัญ
- มีการปฏิบัติงานเพื่อทำการระบุ/ ชี้บ่งถึงผลกระทบทางลบทั้งหลาย ที่สืบเนื่องเกิดขึ้นมาจากการตัดสินใจ และการดำเนินกิจกรรมในลักษณะต่างๆ ขององค์การแห่งนั้นเป็นส่วนใหญ่
การแสดงความมุ่งมั่นต่อการปฏิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชน โดยเพื่อให้สอดคล้องเป็นไปตรงตามรายละเอียด “การประเมินหรือกำหนดสิทธิอันควรแห่งกฎหมาย (Due diligence)” นั้น ถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญที่องค์การควรมีการพิจารณา ตระหนัก และเป็นข้อที่ควรคำนึงถึง ทั้งนี้เพื่อมุ่งหวังผลของการตรวจสอบ และประเมินถึงระดับความเสี่ยงของการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่อาจพบขึ้นมาได้เป็นสำคัญ
ในการระบุชี้บ่งถึงรายละเอียดขอบเขต หรือพื้นที่ของการปฏิบัติงานที่มีโอกาสเป็นไปได้ของการเกิดความเลี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนขึ้นมาในแต่ละครั้งนั้น องค์การควรทำการดิ้นรน หรือต่อสู่ฝ่าฟันเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจที่ดีขึ้นมาต่อลักษณะที่เป็นเรื่องของการท้าทายสำหรับองค์การแห่งนั้น หรือเมื่อยู่ภายใต้สถานการณ์ต่างๆ ที่ค่อนข้างแสดงความสับสนออกมาให้เห็นอยู่ร่วมด้วยนั้น โดยเฉพาะจะต้องมีการพิจารณาจากรายละเอียดที่เป็นมุมมองของแต่ละรายบุคคล หรือแต่ละกลุ่มต่างๆ ที่มีแนวโน้มในการได้รับอันตรายต่างๆ เหล่านั้น ซึ่งแสดงผลความเกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนอยู่โดยตรง
ในทางปฏิบัติที่เพิ่มเติมนอกเหนือออกไปจากการประเมินผลด้วยตนเอง เพื่อตรวจสอบสถานการณ์ต่างๆ ตามรายละเอียดที่ระบุไว้ในเบื้องต้นแล้วเช่นนั้น องค์การแห่งหนึ่งๆ จะต้องรับทราบได้ว่า ในบางกรณีที่อาจเป็นเป็นไปได้ และมีความเหมาะสมเกิดขึ้นเป็นอย่างยิ่ง ล้วนจำเป็นจะต้องค้นหาปัจจัยที่มีอิทธิพลทางพฤติกรรมของส่วนอื่นๆ ซึ่งสามารถแสดงผลในการสนับสนุนต่อเรื่องสิทธิมนุษยชนให้เกิดเป็นผลขึ้นมาได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายละเอียดต่างๆ ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องเหล่านั้น ได้แสดงความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด หรือเมื่ออยู่ภายใต้สถานการณ์ที่องค์การเองมีความรู้สึกในเบื้องต้นว่า ประเด็นที่กำลังพิจารณาในรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนเหล่านั้น กำลังปรากฏสภาพของการกลายออกมาเป็นเรื่องของข้อบังคับ หรือเป็นสิ่งจูงใจที่สมควรได้รับการปฏิบัติขึ้นมาอย่างจริงจัง เพื่อให้มีผลออกมาเป็นรูปธรรม หรือแสดงความเกี่ยวข้องกับสถานการณ์เช่นนั้นเป็นสำคัญ ในขณะที่องค์การได้รับประสบการณ์ที่เพิ่มพูนมากยิ่งขึ้นในลักษณะที่มีการแสดงความเคารพนับถือต่อสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่องเช่นนี้เกิดขึ้นแล้ว จึงสามารถช่วยส่งเสริมความเจริญเติบโตของระดับความสามารถขององค์การในภาพรวมขึ้นมาได้ และยังเป็นการแสดงความเต็มใจเป็นอย่างยิ่งขององค์การในการทำหน้าที่ หรือแสดงบทบาทต่อการช่วยสนับสนุนรายละเอียดของการแสดงความเคารพนับถือต่อสิทธิมนุษยชนให้เกิดเป็นผลออกมาอย่างชัดเจนขึ้นมาได้ตามลำดับ
6.3.4 Human rights issue 2: Human rights risk situations |
6.3.4.1 Description of the issues |
There are certain circumstances and environments where organizations are more likely to face challenges and dilemmas relating to human rights and in which the risk of human rights abuse may be exacerbated. These include: - conflict [129] or extreme political instability, failure of the democratic or judicial system, absence of political or civil rights; - poverty, drought, extreme health challenges or natural disasters; - involvement in extractive or other activities that might significantly affect natural resources such as water, forests or the atmosphere or disrupt communities; - proximity of operations to communities of indigenous peoples [75] [154]; - activities that can affect or involve children [81] [82] [116] [117] [135] [147] [148]; - a culture of corruption; - complex value chains that involve work performed on an informal basis without legal protection; and - a need for extensive measures to ensure security of premises or other assets. |
6.3.4.2 Related actions and expectations |
Organizations should take particular care when dealing with situations characterized above. These situations may require an enhanced process of due diligence to ensure respect for human rights. This could for example be done through an independent human rights impact assessment. |
When operating in environments in which one or more of these circumstances apply, organizations are likely to be faced with difficult and complex judgments as to how to conduct themselves. While there may be no simple formula or solution, an organization should base its decision on the primary responsibility to respect human rights, while also contributing to promoting and defending the overall fulfillment of human rights. |
In responding, the organization should consider the potential consequences of its actions so that the desired objective of respecting human rights is actually achieved. In particular, it is important not to compound or create other abuses. A situation’s complexity should not be used as an excuse for inaction. |
คำอธิบาย 
6.3.4 สิทธิมนุษยชนประเด็นที่ 2: สถานการณ์ความเสี่ยงของสิทธิมนุษยชน
6.3.4.1 คำอธิบายสำหรับประเด็นนี้
ภายใต้บริบทของสถานการณ์หนึ่งๆ หรือสิ่งแวดล้อมในขณะนั้นๆ อยู่ร่วมด้วย องค์การเองอาจกำลังเผชิญหน้ากับระดับความท้าทาย หรือการเกิดขึ้นของสถานการณ์ที่มีความสับสนปนเปกันเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะเมื่อเกี่ยวข้องกับรายละเอียดของประเด็นต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชนอยู่โดยตรง หรือเมื่ออยู่ภายใต้ระดับความเสี่ยงที่เรื่องสิทธิมนุษยชนดังกล่าว กำลังถูกละเมิดขึ้นมาในระดับที่รุนแรง หรืออาจก่อให้เกิดสภาพวิกฤติขึ้นมาให้เห็นเป็นผลได้โดยตรง เพราะฉะนั้นองค์การเองจึงควรมีความใส่ใจอย่างจำเพาะเจาะจงเป็นพิเศษ โดยต้องเข้าใจในรายละเอียดที่เกี่ยวข้องภายใต้สถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นสำหรับองค์การ ดังนี้
- ในกรณีของการมีความขัดแย้ง [129] เกิดขึ้น หรือเมื่อเป็นผลสืบเนื่องมาจากความไม่มั่นคงทางการเมืองปรากฏออกมาให้เห็นในระดับที่รุนแรงมาก การเกิดสภาพความล้มเหลวขึ้นมาของระบบประชาธิปไตยหรืออำนาจยุติธรรม หรือเมื่อไม่พบรายละเอียดของการปฏิบัติงานสำหรับสิทธิทางการเมือง และสิทธิพลเมืองประการอื่นๆ เป็นต้น
- เมื่ออยู่ภายใต้สถานการณ์ของความยากจน ความแห้งแล้งกันดาร ลักษณะของความท้าทายด้านสุขภาพอนามัยเป็นอย่างมาก หรือการเกิดขึ้นของภัยพิบัติตามธรรมชาติประเภทต่างๆ
- การเข้าไปมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมที่มีความจำเพาะเจาะจง หรือกิจกรรมประเภทอื่นใด ก็ตาม ซึ่งอาจส่งผลกระทบขึ้นมาอย่างมีนัยสำคัญต่อแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น้ำ ป่าไม้หรือบรรยากาศ และบ่อยครั้งที่พบมีการแตกสลายของชุมชนแห่งนั้นเกิดขึ้นอยู่ร่วมด้วย เป็นต้น
- การแสดงความใกล้ชิดสำหรับการปฏิบัติงานต่อชุมชน และประชาชนพื้นเมือง หรือบุคคลอื่นๆ ที่ร่วมอาศัยอยู่ในท้องถิ่นแห่งนั้นๆ [75] [154]
- รายละเอียดของกิจกรรม ซึ่งมีผลกระทบ หรือแสดงความเกี่ยวข้องกับเด็กอยู่โดยตรง [81] [82] [116] [117] [135] [147] [148]
- วัฒนธรรมของการรับสินบน หรือการเกิดคอร์รัปชั่นขึ้นมา
- การเกิดขึ้นของสายโซ่อุปทานที่มีคุณค่า หรือแสดงผลของความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก โดยแสดงความเกี่ยวข้องกับวิธีการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ซึ่งปรากฏรายละเอียดอยู่บนพื้นฐานที่ไม่เป็นทางการ หรือเมื่อปราศจากการปกป้องคุ้มครองทางกฎหมายอยู่ร่วมด้วยอย่างเคร่งครัด และ
- ระดับของความจำเป็นต่อการกำหนดมาตรการที่เข้มข้น หรือมีความประณีตขึ้นมาในลักษณะต่างๆ ทั้งนี้เพื่อกระตุ้นก่อให้เกิดความมั่นใจได้ถึงการช่วยปกป้อง และคุ้มครองความมั่นคงต่อสมบัติ/ ที่ดิน หรือทรัพย์สินอยู่ร่วมด้วยเสมอ
6.3.4.2 วิธีปฏิบัติ และ/ หรือความคาดหวังที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้
องค์การโดยทั่วไปจึงควรให้ความใส่ใจ หรือมีการดูแลสภาพเป็นพิเศษเมื่อกำลังตกอยู่ภายใต้สถานการณ์ในลักษณะต่างๆ ตามที่ระบุรายละเอียดไว้ให้เห็นอย่างชัดเจนอยู่ด้วยแล้วในเบื้องต้นทุกประการ สถานการณ์เช่นนี้ ล้วนมีความจำเป็น และต้องการกระบวนการปฏิบัติงานที่ถูกกำหนดขึ้นมาเป็นพิเศษ โดยแสดงความเกี่ยวข้องเข้ากับรายละเอียดของการประเมินถึงผลกระทบประการต่างๆ ขึ้นมาก่อนเป็นการล่วงหน้า ทั้งนี้เพื่อต้องการก่อให้เกิดผลของความมั่นใจในเรื่องของการแสดงความเคารพนับถือตรงต่อรายละเอียดของการปฏิบัติงานในด้านสิทธิมนุษยชนเป็นประการสำคัญ รายละเอียดของการปฏิบัติดังกล่าว ยังอาจยึดถือได้ว่า มีสภาพของการถูกกำหนดเพื่อให้ปรากฏผลออกมาเป็นตัวอย่างที่ดี ซึ่งช่วยสะท้อนให้เห็นถึงเรื่องของการประเมินถึงรายละเอียดสำหรับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนประการต่างๆ ที่สามารถกระทำได้อย่างเป็นอิสระ หรือมีความเด่นชัดขี้นมาได้อย่างแท้จริงอีกประการหนึ่งร่วมด้วย
นอกจากนี้เมื่อมีการดำเนินงานขึ้นมาภายใต้สิ่งแวดล้อมของสถานการณ์หนึ่งๆ หรือเมื่อเป็นไปอยู่ภายใต้ที่มากกว่าหนึ่งสถานการณ์ประกอบอยู่ด้วยกันเช่นนั้น องค์การจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการเผชิญหน้ากับเรื่องของความยุ่งยากสำหรับระดับการตัดสินใจที่มีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพื่อพิจารณาและทำการค้นหาว่า แนวทางการประพฤติปฏิบัติที่เหมาะสมขึ้นมาเช่นนั้น สมควรต้องมีการปฏิบัติออกมาในรูปแบบที่ต้องการเป็นอย่างไร ในขณะที่อาจไม่มีสูตรสำเร็จ หรือแนวทางของแก้ไขปัญหาแบบง่ายๆ จะถูกกำหนดขึ้นมาเพิ่มเติมก็ตาม เพราะฉะนั้นผลของการตัดสินใจใดๆ ขององค์การที่เกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว จึงควรปรากฏยึดถืออยู่บนพื้นฐานของการแสดงความเคารพนับถือต่อการช่วยเหลือสนับสนุน หรือการป้องกันในภาพรวมทั้งหมด ทั้งนี้เพื่อต้องการก่อให้เกิดผลของการบรรลุถึง หรือสามารถเข้าไปช่วยเหลือเติมเต็มขึ้นมาในรายละเอียดต่างๆ สำหรับสิทธิมนุษยชนได้เป็นเรื่องสำคัญ
การวิเคราะห์สถานการณ์และระดับความเสี่ยง ที่อาจเกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้นมา อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงการกำหนดนโยบาย และระบบการจัดการที่เหมาะสมขององค์การ จะเป็นตัวชี้บ่งระดับความสำเร็จของการปกป้อง/ คุ้มครองด้านสิทธิมนุษยชนได้เป็นอย่างดี
ภายใต้บริบทที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรายละเอียดของสิทธิมนุษยชน ได้รับการถูกละเมิดล่วงเกิน และเกิดเป็นผลขึ้นมาอย่างสมบูรณ์แล้ว หรือกำลังอยู่ในช่วงของการเกิดผลดังกล่าวอยู่ก็ตาม บ่อยครั้งอีกเช่นกันที่พบว่า เป็นเรื่องที่มีความสลับซับซ้อนเกิดขึ้นเป็นอย่างมากสำหรับองค์การแต่ละแห่ง ที่จะดำเนินการตอบสนองต่อสถานการณ์เช่นนั้นได้อย่างรวดเร็ว องค์การจึงควรทำการพิจารณา และให้ความใส่ใจเป็นพิเศษต่อลักษณะความสืบเนื่องที่มีแนวโน้มเกิดขึ้นติดตามมาของวิธีการปฏิบัติต่างๆ ที่ต้องดำเนินการ ทั้งนี้เพื่อต้องการให้วัตถุประสงค์ที่ถูกกำหนดขึ้นมาด้านสิทธิมนุษยชนเช่นนั้น สามารถบรรลุถึงผลความสำเร็จในการแสดงความเคารพนับถือด้านสิทธิมนุษยชนขึ้นมาให้เห็นได้ในที่สุด เมื่อกล่าวออกมาเป็นเหตุผลอย่างจำเพาะเจาะจง จึงถือว่าเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งที่จะต้องกระทำ หรือเพื่อไม่ให้มีผลของการละเมิดในด้านอื่นๆ เกิดติดตามขึ้นมาอย่างต่อเนื่องอีกด้วย รวมถึงยังจำเป็นจะต้องไม่มีการใช้ประโยชน์จากความยุ่งยากสลับซับซ้อนของสถานการณ์ต่างๆ เช่นนี้ โดยปรากฏว่า มีการละเมิดผลด้านสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นแล้วนั้น และถูกนำไปใช้เป็นข้ออ้างสำหรับการแก้ตัว เพื่อไม่ต้องการให้มีการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องออกมา หรือเป็นผลที่แสดงถึงนัยสำคัญได้ต่อไปอีกประการหนึ่งด้วย
6.3.5 Human rights issue 3: Avoidance of complicity |
6.3.5.1 Description of the issues |
Complicity has both legal and non-legal meanings. |
In the legal context, complicity has been defined in some jurisdictions as an act or omission having a substantial effect on the commission of an illegal act such as a crime, while having knowledge of, or intent to contribute to, that illegal act. |
Complicity is associated with the concept of aiding and abetting an illegal act or omission. |
In the non-legal context, complicity derives from broad societal expectations of behavior. In this context, an organization may be considered complicit where it assists in the commission of wrongful acts of others that are inconsistent with, or disrespectful of, international norms of behavior that the organization, through exercising due diligence, knew or should have known would lead to substantial negative impacts on society, the economy or the environment. An organization may also be considered complicit where it stays silent about or benefits from such wrongful acts. |
While their boundaries are imprecise and evolving, three forms of complicity can be described. - Direct complicity. This occurs when an organization knowingly assists in violating human rights; - Beneficial complicity. This involves an organization or subsidiaries benefiting directly from human rights abuses committed by someone else. Examples include an organization tolerating action by security forces to suppress a peaceful protest against its decisions and activities, or the use of repressive measures while guarding its facilities, or an organization benefiting economically from suppliers’ abuse of fundamental rights at work; - Silent complicity. This can involve the failure by an organization to raise with the appropriate authorities the question of systematic or continuous human rights violations, such as not speaking out against systematic discrimination in employment law against particular groups. |
6.3.5.2 Related actions and/or expectations |
One prominent area with the potential to create complicity in human rights abuses relates to security arrangements. In this regard, among other things, an organization should verify that its security arrangements respect human rights and are consistent with international norms and standards for law enforcement. Security personnel (employed, contracted or sub-contracted) should be adequately trained, including in adherence to standards of human rights, and complaints about security procedures or personnel should be addressed and investigated promptly and, where appropriate, independently. Moreover, an organization should exercise due diligence to ensure that it is not participating in, facilitating or benefiting from human rights violations committed by public security forces. |
In addition, an organization should: - not provide goods or services to an entity that uses them to carry out human rights abuses; - not enter into a formal or informal partnership or contractual relationship with a partner that commits human rights abuses in the context of the partnership or in the execution of the contracted work; - inform itself about the social and environmental conditions in which purchased goods and services are produced; - ensure it is not complicit in any displacement of people from their land unless it is done in conformity with national law and international norms, which includes exploring all alternative solutions and ensuring affected parties are provided with adequate compensation; - consider making public statements, or taking other action indicating that it does not condone human rights abuse, such as acts of discrimination, occurring in employment in the country concerned; and - avoid relationships with entities engaged in anti-social activities. |
Organizations can become aware of, prevent and address risks of complicity by integrating the common features of legal and societal benchmarks into its due diligence processes. |
คำอธิบาย 
6.3.5 สิทธิมนุษยชนประเด็นที่ 3: การหลีกเลี่ยงการสมรู้ร่วมคิด
6.3.5.1 คำอธิบายสำหรับประเด็นนี้
การสมรู้ร่วมคิดจะมีความหมายที่กำหนดไว้ และเป็นไปได้ทั้งในลักษณะทางกฎหมาย และไม่ใช่ทางกฎหมาย เป็นต้น
ตามรายละเอียดทางกฎหมายนั้น การสมรู้ร่วมคิดจะถูกระบุไว้ในเชิงบทบัญญัติทางคดีความที่ชัดเจนว่า ล้วนเป็นการกระทำ หรือการปฏิบัติ โดยส่งผลก่อให้เกิดการเพิกเฉย ละเลย หรือการยกเว้นขึ้นมาสำหรับผลบางประการที่จะต้องดำเนินการ และในที่สุดก่อให้เกิดการประพฤติปฏิบัติที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายขึ้นมา ขอยกตัวอย่างไว้อย่างชัดเจน เช่น การประกอบความผิดทางอาญา เป็นต้น และในขณะเดียวกันก็ยังเป็นผลสืบเนื่องที่มาจากการรับรู้ หรือมีความตั้งใจในการช่วยเหลือหรือสนับสนุนต่อการประพฤติปฏิบัติที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายดังกล่าวอีกประการหนึ่งด้วย
นอกจากนี้การสมรู้ร่วมคิด ยังอาจเกี่ยวเนื่อง หรือเกิดขึ้นร่วมกับในการที่มีแนวความคิดเพิ่มเติมขึ้นมาในด้านการช่วยเหลือ หรือมีส่วนสนับสนุนต่อการปฏิบัติที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือการเพิกเฉยละเลยในเรื่องเหล่านั้นเป็นประการสำคัญ
รายละเอียดตามความหมายในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับทางกฎหมายนั้น การสมรู้ร่วมคิดจะถูกพิจารณา และนึกถึงภายใต้มุมมองในเรื่องที่เป็นระดับความคาดหวังทางพฤติกรรมของสังคมที่ต้องการให้เกิดขึ้นเป็นผลอย่างกว้างขวางมากกว่า โดยเฉพาะภายใต้บริบทเช่นนี้ จะเป็นลักษณะการกระทำขององค์การแต่ละแห่งที่มีส่วนพิจารณาแล้วว่า ได้เข้าไปมีส่วนช่วยเหลือต่อการกระทำหรือปฏิบัติความผิดร่วมกับส่วนอื่นๆ ซึ่งล้วนเป็นเรื่องที่แสดงถึงความไม่สอดคล้อง หรือไม่เคารพนับถือต่อการประพฤติปฏิบัติตรงตามรายละเอียดของบรรทัดฐานทางพฤติกรรมที่กำหนดไว้ในระดับนานาชาติ โดยเฉพาะองค์การส่วนใหญ่ในขณะนั้นได้มีการกำหนด หรือการประเมินถึงผลกระทบทางสิทธิทั้งหลาย อันควรจะได้รับตรงตามรายละเอียดทางกฎหมายประการใดๆ ขึ้นมาเป็นที่รับรู้อย่างดียิ่งแล้วก็ตามว่า การกระทำที่ติดตามมาครั้งดังกล่าว จะสามารถนำไปสู่ผลกระทบเชิงลบต่อสภาพทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมขึ้นมาได้ในลำดับต่อไป นอกจากนี้องค์การเองอาจจำเป็นต้องพิจารณาถึงรายละเอียดของการสมรู้ร่วมคิดเช่นนี้ ซึ่งอาจครอบคลุมรวมไปถึงการรับรู้ แต่มีการนิ่งเงียบอยู่เฉย สำหรับการได้รับผลประโยชน์บางประการขึ้นมาจากการปฏิบัติ หรือกระทำความผิดเช่นนั้นร่วมกับผู้อื่นอีกประการหนึ่งด้วย
ดังนั้นในทางปฏิบัติที่อยู่ภายใต้ขอบเขตที่ไม่แน่นอน มั่นคงตายตัว หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงหมุนเวียนได้ตลอดระยะเวลาเช่นนั้น จึงปรากฏมีสภาพของการละเมิดดังกล่าวเกิดขึ้นใน 3 ลักษณะด้วยกัน กล่าวคือ
- การสมรู้ร่วมคิดโดยตรง รายละเอียดเช่นนี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อองค์การมีการรับรู้ และเข้าไปมีส่วนช่วยเหลือทำให้เกิดผลการละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้นมาตามลำดับ
- การสมรู้ร่วมคิดที่เป็นประโยชน์ จะมุ่งหมายและครอบคลุมไปถึงรายละเอียดที่ว่า องค์การหรือหน่วยงานเครือข่ายขององค์การแห่งนั้น ล้วนต่างได้รับผลประโยชน์ที่ดีเกิดขึ้นมาโดยตรงจากการละเมิดในเรื่องของสิทธิมนุษยชน ซึ่งอาจเป็นผลสืบเนื่องมาจากการกระทำของผู้หนึ่งผู้ใดภายในองค์การแห่งดังกล่าว ขอยกตัวอย่างเช่น เมื่อองค์การเข้าไปมีส่วนร่วมด้วยในการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานทางความมั่นคงในการช่วยระงับหรือยับยั้งการประท้วงอย่างสันติวิธี ซึ่งมีการดำเนินการต่อต้านในเรื่องผลการปฏิบัติงาน หรือการดำเนินกิจกิจกรรมประเภทต่างๆ ขององค์การ หรือเป็นการใช้ประโยชน์จากมาตรการปราบปรามบางประการ เพื่อทำหน้าที่ปกป้องรักษาสิ่งอำนวยความสะดวกประเภทต่างๆ ขององค์การแห่งนั้นไว้ หรือเมื่อเป็นการได้รับผลประโยชน์ที่ดีทางเศรษฐกิจบางประการเกิดขึ้นมาจากคู่ค้าหรือผู้ส่งมอบแต่ละรายขององค์การ ซึ่งปรากฏว่า ได้มีการละเมิดผลของการปฏิบัติด้านแรงงานอย่างเป็นธรรม เป็นต้น
- การสมรู้ร่วมคิดแบบเงียบๆ โดยรายละเอียดดังกล่าวจะครอบคลุมไปถึงความล้มเหลวขององค์การ ต่อการตั้งคำถามสำหรับการเกิดผลการละเมิดด้านสิทธิมนุษยชนขึ้นมา ทั้งที่เป็นผลในเชิงระบบ หรือเมื่อมีสภาพของการเกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง และรวมไปถึงปฏิสัมพันธ์กับหน่วยงานต่างๆ ภายนอกองค์การ ที่มีอำนาจหน้าที่ต้องดำเนินการเพื่อให้มีความสอดคล้องเป็นไปตรงตามรายละเอียดขอบเขตของกฎหมายอีกด้วย ขอยกตัวอย่างเช่น การไม่ต้องการพูดหรือกล่าวออกมา โดยการแสดงความเงียบ หรือการนิ่งเฉยในลักษณะที่ไม่มีส่วนร่วมเชิงระบบต่อการแสดงความกีดกัน หรือการแบ่งแยกสำหรับการจ้างงานตามกฎหมายต่อกลุ่มผู้ปฏิบัติงานบางกลุ่ม เป็นต้น ซึ่งก่อให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้นมาให้เห็นเป็นผลได้อย่างต่อเนื่องนั่นเอง
6.3.5.2 วิธีปฏิบัติ และ/ หรือความคาดหวังที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้
รายละเอียดประการหนึ่งที่ต้องการมุ่งเน้น เพื่อแสดงผลของการแสดงความเคารพนับถือต่อการหลีกเลี่ยงในเรื่องของการสมรู้ร่วมคิดสำหรับการละเมิดผลด้านสิทธิมนุษยชนเช่นนั้น จะเกี่ยวข้องกับการจัดเตรียมงานทางด้านความมั่นคงขึ้นมาในลักษณะต่างๆ กัน ในทางปฏิบัติที่เกี่ยวเนื่องกันเช่นนั้น องค์การเองจึงควรมีการทวนสอบถึงรายละเอียดสำหรับการจัดเตรียมงานด้านความมั่นคงดังกล่าว ซึ่งแสดงผลของความเคารพนับถือต่อรายละเอียดของสิทธิมนุษยชน และจำเป็นต้องมีความสอดคล้องเป็นไปตรงตามบรรทัดฐานระดับนานาชาติของ UN และมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้ทางกฎหมายเหล่านั้นอีกด้วย นอกจากนี้บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านความมั่นคงเช่นนั้น (ทั้งที่มีสภาพเป็นลูกจ้าง หรือเมื่อปฏิบัติงานแต่ละครั้งต้องดำเนินเป็นไปภายใต้การทำสัญญาขึ้นมาในแต่ละครั้งก็ตาม) ควรมีผลของการผ่านการฝึกอบรมขึ้นมาอย่างพอเพียง โดยเฉพาะต้องสามารถเชื่อมยึดเข้ากับรายละเอียดของมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนอยู่ได้โดยตรง รวมถึงต้องมีการกำหนดเพื่อรับคำร้องเรียนทั้งหลายขึ้นมา ทั้งวิธีการปฏิบัติงานทั้งในส่วนของความมั่นคง และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเหล่านั้น ล้วนจะต้องมีการตรวจสอบหรือประเมินผลดังกล่าวออกมาอย่างทันทีทันใด และในทางปฏิบัติที่เหมาะสมก็ต้องปรากฏมีสภาพของความเป็นอิสระเกิดขึ้นอีกประการหนึ่งร่วมด้วย ในทางปฏิบัติที่เป็นไปมากกว่านั้น องค์การแต่ละแห่งจึงควรดำเนินการในเรื่องของการกำหนด หรือประเมินผลกระทบที่เกี่ยวเนื่องกับสิทธิอันควรจะไดรับทางกฎหมายขึ้นมาก่อนเป็นเบื้องต้น ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจได้ ถึงผลของการไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วม การกำหนดรายละเอียดของการปฏิบัติงานบางประการขึ้นมารองรับ หรือการได้รับผลประโยชน์ที่ดีบางประการเพิ่มเติมขึ้นมาจากผลของการละเมิดสิทธิมนุษยชนดังกล่าว ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะเกิดขึ้นมา หรืออาจประสบผลมาจากการปฏิบัติของหน่วยงานด้านความมั่นคงเหล่านั้นนั่นเอง
ในรายละเอียดที่เพิ่มเติมมากกว่านี้ องค์การจึงควรปฏิบัติงานอื่นๆ ร่วมด้วย ดังนี้
- จำเป็นจะต้องไม่มีการทำงานใดๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในด้านเป็นการสร้างผลิตภัณฑ์ หรืองานบริการให้กับหน่วยงานเสริมอื่นๆ ขององค์การแห่งนั้น ซึ่งเมื่อถูกนำไปใช้ประโยชน์แล้วจะก่อให้เกิดผลของการละเมิดรายละเอียดด้านสิทธิมนุษยชนขึ้นมาได้ตามลำดับ
- จำเป็นจะต้องไม่เช้าไปมีส่วนร่วมในเรื่องของการสร้างความเป็นหุ้นส่วนขึ้นมาอย่างเป็นทางการ หรือไม่เป็นทางการในลักษณะใดๆ ก็ตาม หรือเพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ร่วมกันที่มีลักษณะเป็นสัญญาหรือข้อตกลงในรายละเอียดต่อการเข้าไปเป็นส่วนร่วมในการกระทำที่ถือว่า เป็นเรื่องของการละเมิดรายละเอียดของสิทธิมนุษยชน ที่เกิดขึ้นเมื่ออยู่ภายใต้บริบทของการปฏิบัติงานในการเข้าไปเป็นหุ้นส่วน หรือการปฏิบัติงานที่จำเป็นต้องกระทำภายใต้รายละเอียดเงื่อนไขของสัญญาดังกล่าวทุกประการ
- จำเป็นจะต้องมีการแจ้งให้ทราบถึงความต้องการของตนเอง ที่แสดงผลของความเกี่ยวข้องเข้ากับรายละเอียดหรือเงื่อนไขทางสังคมและสิ่งแวดล้อมประการต่างๆ โดยเฉพาะเมื่อมีความต้องการในเรื่องของการสั่งซื้อผลิตภัณฑ์/ สินค้าหรือบริการจากแหล่งภายนอกเข้ามาสู่ภายในองค์การตามลำดับ
- จำเป็นจะต้องมีความมั่นใจได้ถึงการไม่เข้าไปมีส่วนสมรู้ร่วมคิดในกรณีใดๆ ก็ตามที่เกี่ยวข้องกับการขับไล่ผู้คนหรือประชาชนออกไปจากพื้นที่ดินของพวกเขา ยกเว้นแต่ว่า จะถูกกกระทำขึ้นมาเพื่อให้มีผลชองความสอดคล้องเป็นไปตรงตามรายละเอียดของกฎหมายประจำชาติ หรือบรรทัดฐานในระดับนานาชาติเท่านั้น ซึ่งอาจครอบคลุมรวมไปถึงเมื่อมีการสำรวจค้นหาแนวทางของการแก้ไขที่เป็นทางเลือก หรือเพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า กลุ่มของประชาชนที่ได้รับรายละเอียดของผลกระทบเช่นนั้นล้วนได้ถูกดำเนินการขึ้นมาด้วยการปฏิบัติที่เหมาะสม เช่น การจ่ายเงินค่าชดเชยให้กับผู้เสียหาย เป็นต้น
- จำเป็นจะต้องมีการพิจารณาในเรื่องของการจัดทำคำประกาศที่ปรากฏเป็นสาธารณะขึ้นมา หรือเมื่อมีการปฏิบัติงานในลักษณะต่างๆ ที่ล้วนสามารถระบุหรือชี้บ่งได้ถึงในรายละเอียดที่กระทำเช่นนั้น โดยต้องไม่มีส่วนร่วมในการละเมิดถึงรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนที่ควรพิจารณาประการต่างๆ เช่น การปฏิบัติงานที่ส่อให้เห็นถึงผลของการแสดงความแปลกแยกหรือสภาพถูกกีดกันขึ้นมาตามลำดับ ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้ต่อสภาพของการจ้างงานภายใต้ท้องถิ่นต่างๆ กัน และ
- จำเป็นจะต้องมีการหลีกเลี่ยงต่อการเข้าไปมีความสัมพันธ์ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ จากแหล่งภายนอก ซึ่งเข้าไปมีส่วนต่อการปฏิบัติกิจกรรมประเภทใดๆ ก็ตามที่มีลักษณะที่กระตุ้นหรือส่อให้เห็นถึงเรื่องของการต่อต้านสังคมแห่งนั้นเป็นสำคัญ
- กำหนดวิธีการปฏิบัติบางประการขึ้นมา โดยครอบคลุมไปถึงมาตรการต่างๆ เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับการป้องกันสภาพการทรมานหรือกระทำทารุณกรรมต่างๆ การสร้างความโหดร้าย การปฏิบัติหรือการกระทำที่ส่อถึงการลดลงมาจากสภาพความเป็นมนุษย์ และการใช้ประโยชน์ด้านกำลังในลักษณะที่มีอยู่อย่างมากมายสูงเกินกว่าความจำเป็น เป็นต้น
- บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านความมั่นคง (ทั้งมีสภาพที่เป็นลูกจ้างหรือเมื่อปฏิบัติงานเป็นไปภายใต้การทำสัญญาขึ้นมาแต่ละครั้งก็ตาม) ควรมีผลของการผ่านการฝึกอบรมอย่างพอเพียง โดยเฉพาะต้องเชื่อมยึดเข้ากับรายละเอียดของมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนอยู่ได้โดยตรง
- องค์การควรมีการพัฒนา หรือกำหนดกฎเกณฑ์ขึ้นมาอย่างชัดเจนสำหรับการทำสัญญา เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานกับหน่วยงานด้านความมั่นคงต่างๆ และจะต้องไม่ทำการว่าจ้างบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านความมั่นคงเช่นนั้น ซึ่งปรากฏมีผลบันทึกว่า เป็นผู้ละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้นมาอีกด้วย
- มีการกำหนดเพื่อรับคำร้องเรียนขึ้นมา ทั้งวิธีการปฏิบัติงานด้านความมั่นคง และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง และจะต้องมีการตรวจสอบผลดังกล่าวออกมาอย่างทันทีทันใด และในทางปฏิบัติที่เหมาะสมต้องปรากฏมีสภาพของความเป็นอิสระเกิดขึ้นอีกร่วมด้วย
- องค์การที่ทำหน้าที่สนับสนุนต่อการปฏิบัติงานด้านความมั่นคงทางการทหาร หรือบริการต่างๆ ของตำรวจนั้น ควรมีการกำหนดมาตรการเพื่อป้องกันการละเมิดใดๆ ขึ้นมาต่อสิทธิมนุษยชนตามลำดับ โดยเฉพาะรายละเอียดของมาตรการต่างๆ เหล่านี้ จะต้องครอบคลุมถึงวิธีการฝึกอบรมกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน และสามารถก้าวข้ามไปถึงการกำหนดการเฝ้าติดตามพฤติกรรมต่างๆ ของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเหล่านั้นได้อย่างชัดเจนอีกด้วย
องค์การจึงควรสร้างความตระหนัก และการรับรู้ขึ้นมาในเรื่องของการป้องกัน หรือกำหนดระดับความเสี่ยงในการสมรู้ร่วมคิดที่อาจเกิดขึ้นมาภายในองค์การแห่งนั้นได้ โดยอาศัยการบูรณาการ เพื่อเปรียบเทียบรายละเอียดที่เป็นพื้นฐานบางประการ ทั้งวิธีการปฏิบัติที่ดีทางกฎหมายและสังคม เข้าไปสู่กระบวนการที่เป็นการกำหนดใช้สิทธิต่างๆ เพื่อให้มีความสอดคล้องเป็นไปตรงตามรายละเอียดที่กำหนดไว้เหล่านั้นอีกร่วมด้วย
การสมรู้ร่วมคิด โดยอาศัยการจัดเตรียมหน่วยงาน/ กองกำลังด้านความมั่นคงหรือบุคลากร (Security forces) เพื่อเข้ามาทำหน้าที่ปกป้อง/ คุ้มครองเป็นการส่วนตนสำหรับองค์การ ย่อมเป็นเรื่องที่มี “ความอ่อนไหวมาก (Susceptible)” ต่อผลการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งต้องให้ความระมัดระวังและสนใจเป็นพิเศษ
6.3.6 Human rights issue 4: Resolving grievances |
6.3.6.1 Description of the issues |
Even where institutions operate optimally, disputes over the human rights impact of organizations decisions and activities may occur. Effective grievance mechanisms play an important role in the state’s duty to protect human rights. Equally, to discharge its responsibility to respect human rights, an organization should establish a mechanism include for those who believe their human rights have been abused to bring this to the attention of the organization and seek redress. This mechanism should not prejudice access to available legal channels. Non-state mechanisms should not undermine the strengthening of state institutions, particularly judicial mechanisms, but can offer additional opportunities for recourse and redress. |
6.3.6.2 Related actions and expectations |
An organization should establish, or otherwise ensure the availability of, remedy mechanisms for its own use and that of its stakeholders. For these mechanisms to be effective they should be: - legitimate. This includes clear, transparent and sufficiently independent governance structures to ensure that no party to a particular grievance process can interfere with the fair management of that process; - accessible. Their existence should be publicized and adequate assistance provided for aggrieved parties who may face barriers to access, such as language, literacy, lack of awareness or finance, distance, disability or fear of reprisal; - predictable. There should be clear and known procedure, a clear time frame for each stage and clarity as to the types of process and outcome they can and cannot offer, and a means of monitoring the implementation of any outcome; - equitable. Aggrieved parties should have access to sources of information, advice and expertise necessary to engage in a fair grievance; - rights-compatible. The outcomes and remedies should accord with internationally recognized human rights standards; - clear and transparent. Although confidentiality might sometimes be appropriate, the process and outcome should be sufficiently open to public scrutiny and should give due weight to the public interest; and - based on dialogue and mediation The process should look for mutually agreed solutions to grievances through engagement between the parties. Where adjudication is desired, parties should retain the right to seek this through separate, independent mechanisms. |
คำอธิบาย
6.3.6 สิทธิมนุษยชนประเด็นที่ 4: การแก้ไขเรื่องร้องทุกข์ และความเดือดร้อน
6.3.6.1 คำอธิบายสำหรับประเด็นนี้
ถึงแม้ว่าในขณะที่หน่วยงาน/ สถาบันต่างๆ จะปฏิบัติงานแล้วได้อย่างเหมาะสมยิ่งก็ตาม แต่ทั้งนี้ก็อาจยังคงมีการถกเถียง หรือข้อโต้แย้งเกิดขึ้นมาสำหรับรายละเอียดผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนที่สืบเนื่องมาจากการตัดสินใจ หรือการดำเนินกิจกรรมประเภทต่างๆ ขององค์การแห่งนั้น ก็อาจเป็นไปได้อีกเช่นเดียวกัน ดังนั้นการกำหนดให้มีกลไกที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขเรื่องราวคำร้องทุกข์และความเดือดร้อนในลักษณะต่างๆ ที่เกิดขึ้น จึงแสดงบทบาทที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งสำหรับการแสดงความรับผิดชอบของภาครัฐ ที่จะต้องช่วยเข้ามาทำหน้าที่ในการปกป้องคุ้มครองต่อรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนให้เกิดเป็นผลที่ดีขึ้นมาได้ตามลำดับ ในลักษณะของวิธีการปฏิบัติงานที่เท่าเทียมกันเช่นนั้น เพื่อต้องการแสดงความรับผิดชอบขององค์การต่อการกำหนดให้มีความเคารพนับถือในเรื่องสิทธิมนุษยชนดังกล่าวขึ้นมาเช่นนั้น จึงอาจครอบคลุมรายละเอียดรวมไปถึงแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนสำหรับบุคคลต่างๆ ที่มีความเชื่อถือเกิดขึ้นอีกประการหนึ่งร่วมด้วยว่า พวกเขาทั้งหลายเมื่อได้รับอันตรายขึ้นมาจากกระทำในลักษณะใดๆ แล้วก็ตาม ล้วนจะสามารถนำรายละเอียดของคำเรื่องร้องเรียนกล่าวทุกข์เช่นนั้น เพื่อนำเข้าไปสู่การพิจารณาหรือให้ความสนใจขึ้นมาขององค์การอยู่ได้โดยตรง รวมไปถึงรายละเอียดของกลไกประการสำคัญเช่นนี้ อาจมีการค้นหาเพื่อกำหนดแนวทางของการแก้ไขปรับแต่งครั้งใหม่ให้มีความเหมาะสมเพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยทั้งนี้จะต้องปราศจากความไม่มีอคติ หรือความลำเอียงเกิดขึ้นมาสำหรับการใช้รายละเอียดของสิทธิดังกล่าว หรือเพื่อสามารถนำพาไปสู่ช่องทางของการปฏิบัติตามกลไกทางกฎหมายที่เหมาะสมได้อย่างดียิ่งต่อไปตามลำดับ นอกจากนี้สำหรับรายละเอียดของกลไกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจไม่ได้มาจากภาครัฐก็เช่นกัน ยังจำเป็นจะต้องเป็นเรื่องที่ไม่ทำหน้าที่ในการกัดเซาะบ่อนทำลาย ต่อระดับความเข้มแข็งของการปฏิบัติงานจากหน่วยงาน/ สถาบันภาครัฐ หรือกลไกของการปฏิบัติงานตามกฎหมายต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในขณะนั้น ซึ่งในที่สุด จะสามารถนำเสนอโอกาสที่เพิ่มเติมได้มากขึ้นต่อการใช้ประโยชน์จากแหล่งทรัพยากรประเภทต่างๆ ขององค์การ รวมไปถึงกลไกของการปรับแต่งครั้งใหม่ เพื่อก่อให้เกิดเป็นผลที่ดีร่วมกันได้เป็นเรื่องสำคัญ
6.3.6.2 วิธีปฏิบัติ และความคาดหวังที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้
องค์การควรทำการจัดตั้ง หรือมิฉะนั้นเพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจได้ในระดับความเป็นประโยชน์ของรายละเอียดกลไกที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขในเรื่องดังกล่าวขึ้นมาสำหรับการใช้ประโยชน์โดยตรงอยู่ภายในองค์การเอง หรืออาจครอบคลุมรวมไปถึงกลุ่ม Stakeholders ต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องอยู่โดยตรง ส่วนรายละเอียดของกลไกต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพเช่นนั้น ควรเป็นแนวทางของการปฏิบัติที่ชัดเจนอีกร่วมด้วย ดังนี้
- มีความถูกต้องตามกฎหมาย: โดยต้องครอบคลุมรวมไปถึงความชัดเจน มีความโปร่งใส และมีรายละเอียดเกิดขึ้นอย่างพอเพียงตรงตามลักษณะโครงสร้างด้านธรรมาภิบาลที่ปรากฏสภาพเป็นอิสระ ซึ่งต้องถูกกำหนดหรือวางไว้อย่างเหมาะสมขององค์การ ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อมั่นได้ว่า จะไม่มีภาค/ ส่วนใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการรับเรื่องราวคำร้องทุกข์เหล่านั้น จะสามารถทำการแทรกแซงขึ้นมาต่อการประพฤติปฏิบัติที่ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเป็นธรรมอย่างสอดคล้องตรงตามรายละเอียดที่ระบุไว้ภายในกระบวนการเช่นนั้นเป็นเรื่องสำคัญ
- สามารถเข้าถึงรายละเอียดได้โดยตรง: ซึ่งหมายความว่า จากสภาพที่ปรากฏและคงอยู่อย่างแท้จริงในขณะนั้นๆ ล้วนจำเป็นต้องมีการตีพิมพ์เผยแพร่ออกไปยังผู้ที่ซึ่งมีความปรารถนาต่อการเข้าถึงสำหรับรายละเอียดดังกล่าวได้รับทราบผล และยังจำเป็นต้องมีการให้ความช่วยเหลือเกิดขึ้นในลักษณะที่พอเพียงต่อส่วนต่างๆ ที่ได้รับทุกข์หรือมีความยากลำบากขึ้นมา ซึ่งอาจกำลังเผชิญหน้าท้าทายต่อปัญหาหรืออุปสรรคต่างๆ เพื่อแสดงผลในการเข้าถึงต่อรายละเอียดที่เกี่ยวข้องเช่นนี้ ได้แก่ ความยากลำบากของการใช้ภาษา สภาพของความไม่รู้หนังสือ การขาดการสร้างสภาพความตระหนักขึ้นมาหรือสถานภาพทางการเงิน ระยะทางที่อยู่ห่างไกลออกไป ความไม่รู้หนังสือหรือการมีความกลัวต่อการได้รับผลการแก้แค้น หรือการโต้ตอบกลับคืนมาส่วนตนในระยะเวลาภายหลังอีกด้วย เป็นต้น
- สามารถคาดคะเนหรือทำนายได้: รายละเอียดของการปฏิบัติงานต้องถูกกำหนดไว้อย่างชัดเจน หรือสามารถรับรู้ได้ตรงตามกรอบระยะเวลาของการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอน และต้องมีรายละเอียดที่แจ่มแจ้งชัดเจนสำหรับในแต่ละประเภทของกระบวนการ รวมไปถึงผลลัพธ์ที่สามารถกระทำได้ (หรือไม่) และเช่นเดียวกันยังต้องมีแนวทางที่กำหนดไว้สำหรับการเฝ้าติดตามการจัดตั้งที่เกี่ยวข้องกับผลการปฏิบัติงานใดๆ ออกมาอีกประการหนึ่งร่วมด้วย
- มีความเท่าเทียมกัน: โดยเฉพาะในภาค/ ส่วนใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการรับเรื่องราวคำร้องทุกข์เช่นนั้น ก็ควรสามารถเข้าถึงรายละเอียดของแหล่งสารสนเทศต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม เป็นไปตรงตามเหตุและผลที่ต้องการ ได้รับการให้คำปรึกษา และความชำนาญการที่จำเป็นต่อการแสดงผลของการผูกมัดขององค์การเข้ากับกระบวนการรับเรื่องราวคำร้องทุกข์ และความเดือนร้อนต่างๆ ที่เกิดขึ้นเช่นนั้น โดยอาศัยยึดถือ และตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักความยุติธรรม และความเท่าเทียมกันทุกประการ
- มีความสอดคล้องเข้าด้วยกันทางสิทธิ: ผลลัพธ์ประการต่างๆ ที่เกิดขึ้น และวิธีการแก้ไขทั้งหลายที่เกี่ยวข้องการรับเรื่องราวคำร้องทุกข์เช่นนั้น ควรมีความเหมาะสม และแสดงความสอดคล้องเข้าด้วยกันตรงตามรายละเอียดของมาตรฐานสิทธิมนุษยชนที่ถูกยอมรับขึ้นมาได้ในระดับนานาชาติเป็นสำคัญ
- มีความชัดเจนและโปร่งใส: ถึงแม้ว่ารายละเอียดที่เป็นความลับประการต่างๆ ในสภาพบางครั้งต้องถูกดำเนินการให้เป็นไปด้วยความเหมาะสมอยู่เป็นส่วนใหญ่ แต่ทั้งนี้กระบวนการและผลลัพธ์ของการรับเรื่องราวคำร้องทุกข์เช่นนั้น ควรต้องดำเนินงานเป็นไปอย่างพอเพียงต่อการเปิดเผยให้กับการพินิจพิเคราะห์ของสาธารณชนได้รับทราบกันโดยทั่วไป และสมควรต้องทำการจัดเรียงน้ำหนัก หรือลำดับความสำคัญของผลประโยชน์สาธารณะเหล่านั้นออกมาให้เห็นผลได้เป็นอย่างดีอีกร่วมด้วย
- มีการยึดถืออยู่บนพื้นฐานของการพบปะสนทนา หรือการเจรจาประนีประนอม: กระบวนการดังกล่าว ควรพิจารณารายละเอียดของการแก้ไขปัญหาที่สามารถตกลงร่วมกันได้ ทั้งนี้เพื่อทำให้การร้องเรียนและร้องทุกข์เช่นนั้นยุติลงมาได้ โดยอาศัยการการแสดงผลชองการผูกมัดเข้าด้วยกันในทุกส่วน/ ภาคหรือหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกันตามลำดับ ส่วนในขณะที่เป็นเรื่องของการพิจารณาตัดสินคดีความเมื่อเกิดสภาพขึ้นมาแล้วเช่นนั้น ในทุกภาค/ ส่วนที่เกี่ยวข้องอยู่โดยตรง ควรต้องมีการช่วยเหลือกันในการระงับยับยั้งรายละเอียดในเรื่องสิทธิดังกล่าว โดยอาศัยกลไกประเภทต่างๆ ที่ถูกคัดแยก หรือแสดงความเป็นอิสระออกมาให้เห็นผลได้เป็นอย่างสูงได้ทำหน้าที่เป็นประการสำคัญ
6.3.7 Human rights issue 5: Discrimination and vulnerable groups |
6.3.7.1 Description of the issues |
Discrimination involves any distinction, exclusion or preference that has the effect of nullifying equality of treatment or opportunity, where that consideration is based on prejudice rather than a legitimate ground. Illegitimate grounds for discrimination include but are not limited to: race, color, gender, age, language, property, nationality or national origin, religion, ethnic or social origin, caste, economic grounds, disability, pregnancy, belonging to an indigenous people, trade union affiliation, political affiliation or political or other opinion. Emerging prohibited grounds also include marital or family status, personal relationships and health status such as HIV/AIDS status. The prohibition of discrimination is one of the most fundamental principles of international human rights law. [71] [78] [133] [136] [137] [138] [139] [141] [143] [149] [150] [156]. |
The full and effective participation and inclusion in society for all groups, including those who are vulnerable, provides and increases opportunities for all organizations as well as the people concerned. An organization has much to gain from taking an active approach to ensuring equal opportunity and respect for all individuals. |
Groups that have suffered persistent discrimination, leading to entrenched disadvantages, are vulnerable to further discrimination, and their human rights should be the focus of additional attention in terms of protection and respect by organizations. While vulnerable groups typically include those mentioned in 6.3.7.2, there may be others vulnerable groups in the particular community in which an organization operates. |
Discrimination can also be indirect. This occurs when an apparently neutral provision, criterion or practice would put persons with a particular attribute at a disadvantage compared with other persons, unless that provision, criterion or practice is objectively justified by a legitimate aim and the means of achieving that aim are appropriate and necessary. |
6.3.7.2 Related actions and expectations |
An organization should take care to ensure that it does not discriminate against employees, partners, customers, stakeholders, members and anyone else with whom it has any contact or on whom it can have an impact. |
An organization should examine its own operations and the operations of other parties within its sphere of influence to determine whether direct or indirect discrimination is present. It should also ensure that it is not contributing to discriminatory practices through the relationships connected to its activities. If this is the case an organization should encourage and assist other parties in their responsibility to prevent discrimination. If this is not successful it should reconsider its relations with such organizations. It may, for example, undertake an analysis of typical ways in which it interacts with women, as compared with men, and consider whether policies and decisions in this regard are objective or reflect stereotyped preconceptions. It may wish to seek advice from local or international organizations with expertise in human rights. An organization may be guided by the findings and recommendations of international or national monitoring or investigative procedures. |
An organization should consider facilitating the raising of awareness of their rights among members of vulnerable groups. |
An organization also should contribute to redressing discrimination or the legacy of past discrimination, wherever practicable. For example, it should strive to employ or do business with organizations operated by people from groups historically discriminated against, where feasible, it should support efforts to increase access to education, infrastructure or social services for groups denied full access. |
An organization can take a positive and constructive view of diversity among the people with whom it interacts. It could consider not only the human rights aspects but also the gains for its own operations in terms of the value added by the full development of multi-faceted human resources and relations. |
The following examples of vulnerable groups are described together with specific related actions and expectations: |
- Women and girls comprise half of the world population, but they are frequently denied access to resources and opportunities on equal terms with men and boys. Women have the right to enjoy all human rights without discrimination, including in education, employment and economic and social activities as well as the right to decide on marriage and family matters and the right to make decisions over their own reproductive health. An organization’s policies and activities should have due regard for women’s rights and promote the equal treatment of women and men in the economic, social and political spheres. [133] [149] |
- People with disabilities are often vulnerable, in part because of misperceptions about their skills and abilities. An organization should contribute to ensuring that men and women with disabilities are accorded dignity, autonomy and full participation in society. The principle of non-discrimination should be respected, and organizations should consider making reasonable provision for access to facilities. |
- Children are a particularly vulnerable, in part because of their dependent status. In taking action that can affect children, primary consideration should be given to the best interests of the child. The principles of the Convention on the Rights of the Child, which include non-discrimination, a child’s right to life, survival, development and free expression, should always be respected and taken into account. [81] [82] [116] [117] [135] [147] [148] Organizations should have policies to prevent their employees engaging in sexual and other forms of exploitation of children. |
- Indigenous peoples can be considered a vulnerable group because they have experienced systemic discrimination that has included colonization, dispossession from their lands, separate status from other citizens, and violations of their human rights. Indigenous peoples enjoy collective rights, and individuals belonging to indigenous peoples share universal human rights, in particular the right to equal treatment and opportunity. The collective rights include: self-determination (which means the right to determine their identity, their political status and the way they want to develop); access to and management of traditional land, water and resources; maintaining and enjoying their customs, culture, language and traditional knowledge free from discrimination; and managing their cultural and intellectual property [75][154]. An organization should recognize and respect the rights of indigenous peoples when carrying out its decisions and activities. An organization should recognize and respect the principle of non-discrimination and the rights of individuals belonging to an indigenous people when carrying out decisions and activities. |
- Migrants and migrant workers and their families may also be a vulnerable group owing to their foreign or regional origin, particularly if they are irregular or undocumented migrants. An organization should respect their rights and contribute to promoting a climate of respect for the human rights of migrant s, migrant workers and their families. [78] [79] [80] [142] |
- People discriminated against on the basis of descent, including caste. Hundreds of millions of people are discriminated against because of their hereditary status or descent. This form of discrimination is based on a history of rights abuse justified by the wrongful notion that some people are considered unclean or less worthy because of the group into which they are born. An organization should avoid such practices and, where feasible, seek to contribute to eliminating these prejudices. |
- People discriminated against on the basis of race. People are discriminated against because of their race, cultural identity and ethnic origin. There is a history of rights abuse justified by the wrongful notion that some people are inferior because of their skin color or culture. Racism is often present in regions with a history of slavery or oppression of one racial group by another [141] [150] [156] |
Other vulnerable groups include for example, the elderly, the displaced, the poor, illiterate people, people living with HIV/AIDS and minority and religious groups. |
คำอธิบาย 
6.3.7 สิทธิมนุษยชนประเด็นที่ 5: การแสดงความแบ่งแยกกีดกัน และการให้ความสนใจสำหรับกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ
6.3.7.1 คำอธิบายสำหรับประเด็นนี้
การแสดงแบ่งแยกและกีดกัน จะครอบคลุมรายละเอียดรวมไปถึงการก่อให้เกิดขึ้นมาของผลในเรื่องของความแตกต่าง การกำหนดที่เป็นการเฉพาะเจาะจง หรือการนิยมชื่นชอบสำหรับแต่ละรายบุคคลหรือเมื่อเป็นกลุ่มก็ตาม ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการสร้างความไม่เท่าเทียมกัน การได้รับการปฏิบัติหรือการได้รับโอกาสขึ้นมาตามลำดับ สำหรับการพิจารณารายละเอียดเช่นนั้น ส่วนใหญ่จะยึดถืออยู่บนพื้นฐานของอคติ หรือการมีความลำเอียงเกิดขึ้นมากกว่าการยึดถืออยู่บนพื้นฐาน ของการประพฤติปฏิบัติที่ชอบด้วยหลักกฎหมายเป็นเรื่องสำคัญ เพราะฉะนั้นวิธีการปฏิบัติประการใดๆ ก็ตาม ที่มีลักษณะไม่ยึดถืออยู่บนพื้นฐานของความรับผิดชอบทางกฎหมาย ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแสดงผลของความแบ่งแยกและกีดกันออกมาให้เห็นผลได้อย่างชัดเจนเช่นนั้น จึงครอบคลุมรายละเอียดทั้งหมด และไม่จำกัดเฉพาะลงไปเท่านั้นในเรื่องของเชื้อชาติ สีผิว เพศ อายุ ภาษา การแสดงความเป็นเจ้าของทรัพย์สิน สัญชาติหรือแหล่งกำเนิดประจำชาติ ศาสนา แหล่งกำเนิดทางชาติพันธ์หรือสังคม ชนชั้นหรือวรรณะ ภูมิหลังทางเศรษฐกิจ สภาพพิกลพิการทางร่างกาย การตั้งครรภ์ การเกี่ยวข้องกับการดำรงสภาพของความเป็นประชาชนท้องถิ่น การดำรงสัมพันธภาพในเรื่องของกลุ่มสหภาพทางการค้า หรือการเข้าร่วมกันทางการเมือง หรือการแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างกันออกไป เป็นต้น นอกจากนี้รายละเอียดประการอื่นๆ ที่เพิ่มเติมขึ้นมา และปรากฏอยู่บนพื้นฐานของการต้องการระงับยับยั้ง เพื่อไม่ต้องการให้เกิดเป็นผลของความแบ่งแยกและกีดกันขึ้นมาได้เช่นนั้น ยังแสดงความเกี่ยวข้องกับรายละเอียดที่ควรพิจารณาอยู่ร่วมด้วย ได้แก่ สถานภาพของการแต่งงานหรือครอบครัว ความสัมพันธ์ส่วนตนหรือสถานภาพทางสุขภาพ เช่น การเกิดโรค HIV/AIDS เป็นต้น ดังนั้นวิธีการระงับยับยั้งต่อการแสดงผลของความแบ่งแยกและกีดกันดังกล่าว จึงปรากฏเป็นหลักการขั้นพื้นฐานส่วนใหญ่ของกฎหมายสิทธิมนุษยชนในระดับนานาชาติแทบทั้งสิ้น [71] [78] [133] [136] [137] [138] [139] [141] [143] [149] [150] [156]
นอกจากนี้การเปิดโอกาสให้บุคคลได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างเต็มกำลัง หรือเกิดประสิทธิภาพที่ดีขึ้นมาอย่างแท้จริง และครอบคลุมรวมไปถึงการนำรายละเอียดที่เกี่ยวข้องประการต่างๆ สำหรับทุกกลุ่มที่อยู่ภายในสังคม โดยเฉพาะที่ได้มาจากกลุ่มบุคคลที่มีสภาพอ่อนแอ หรือต้องการให้ความใส่ใจเป็นพิเศษเช่นนั้น เข้าไปพิจารณาอยู่ร่วมด้วย จึงค่อนข้างปรากฏเป็นโอกาสสำคัญที่องค์การทั้งหลายควรให้ความสนใจเป็นพิเศษในลักษณะเช่นเดียวกับประชาชนต่างๆ ที่อาศัยอยู่ภายในสังคมแห่งนั้น ดังนั้นองค์การจึงอาจได้รับผลประโยชน์ที่ดีเพิ่มพูนขึ้นมาตามลำดับ โดยอาศัยวิธีการดำเนินงานในลักษณะต่างๆ ที่มีแนวความคิดสอดคล้องเป็นไปอย่างถูกต้อง ทั้งนี้เพื่อต้องการก่อให้เกิดความมั่นใจถึงการเปิดโอกาสให้เกิดผลขึ้นมาได้อย่างเท่าเทียมกัน และยังเป็นการแสดงความเคารพนับถือในรายละเอียดของแต่ละรายบุคคลได้ทั้งหมดอีกประการหนึ่งด้วย
กลุ่มบุคคลบางกลุ่ม ค่อนข้างประสบกับความทุกข์ยากอย่างต่อเนื่องในเรื่องของการถูกละเมิดด้านการแสดงความกีดกันและแบ่งแยกขึ้นมาให้เห็น ซึ่งจะนำพาไปสู่การถูกเอารัดเอาเปรียบเกิดขึ้นได้อย่างกว้างขวางมาก และอาจนำไปสู่ความอ่อนแอในเรื่องของการแบ่งแยกสภาพออกมาในระดับที่รุนแรงเพิ่มมากยิ่งขึ้นตามลำดับ เพราะฉะนั้นรายละเอียดด้านสิทธิมนุษยชนเช่นนี้ จึงควรได้รับการมุ่งเน้นหรือให้ความสนใจเพิ่มเติมขึ้นมาเป็นพิเศษในลักษณะของการป้องกันโดยภาครัฐ และอาจอาศัยผ่านการแสดงความเคารพนับถือโดยถือว่า เป็นการปฏิบัติงานขององค์การแต่ละแห่งออกมาได้ตามลำดับ ในขณะที่กลุ่มบุคคลที่อ่อนแอเหล่านี้ โดยทั่วไปจึงครอบคลุมรวมไปถึงแต่ละรายบุคคลต่างๆ ที่ได้ถูกอธิบายรายละเอียดไว้อย่างชัดเจนแล้วภายในหัวข้อย่อยที่ 6.3.7.2 ในส่วนต่อไปประกอบด้วย นอกจากนี้ยังอาจปรากฏมีกลุ่มบุคคลที่อ่อนแออื่นๆ ที่แสดงความเกี่ยวข้องกับชุมชน ซึ่งองค์การแห่งนั้นกำลังดำเนินการปฏิบัติงานอยู่ในขณะนั้นๆ ด้วยก็ได้อีกเช่นกัน
ลักษณะของการแสดงการแบ่งแยกหรือกีดกัน ยังปรากฏเป็นผลทางอ้อมขึ้นมาให้เห็นประการหนึ่งได้ โดยเฉพาะรายละเอียดเช่นนี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีการกำหนดสภาพที่เป็นกลาง กฎเกณฑ์/ บรรทัดฐาน หรือการปฏิบัติบางอย่าง ที่สามารถกำหนดให้บุคคลรายนั้น มีการรับรู้รายละเอียดทางศาสนาหรือความเชื่อขึ้นมาเพิ่มเติมเป็นไปอย่างจำเพาะเจาะจง ซึ่งอาจครอบคลุมรวมไปถึงเรื่องลักษณะความพิกลพิการทางร่างกาย อายุ เชื้อชาติหรือคำแนะนำ/ นิเทศทางเพศ เป็นต้น ไปอยู่ในลักษณะที่เป็นข้อด้อย หรือมีความเสียเปรียบเมื่อเปรียบเทียบเข้ากับบุคคลอื่นๆ อีกร่วมด้วย ยกเว้นไว้เสียแต่ว่า การกำหนดสภาพ กฎเกณฑ์ หรือการปฏิบัติต่างๆ เหล่านั้น จะปรากฏผลออกมาให้เห็นเป็นเชิงรูปธรรม ซึ่งได้รับการแสดงเหตุผลสนับสนุนอย่างสมควรจากความมุ่งหมายที่เห็นชอบเป็นไปทางกฎหมาย และแนวทางการปฏิบัติต่างๆ เพื่อให้สามารถบรรลุถึงความมุ่งหมายเช่นนั้น ยังดำเนินเป็นไปได้อย่างเหมาะสม และถือได้ว่าเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในทางปฏิบัติ
6.3.7.2 วิธีปฏิบัติ และ/ หรือความคาดหวังที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้ องค์การจึงควรมีการดูแลใส่ใจในรายละเอียด ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อมั่นได้ว่า จะต้องไม่มีเรื่องการแสดงผลของการแบ่งแยกกีดกัน หรือต่อต้านขึ้นมาสำหรับบุคคลหนึ่งบุคคลใด และยังครอบคลุมรวมไปถึงสภาพของความเป็นลูกจ้าง หุ้นส่วนทางธุรกิจ ลูกค้า กลุ่ม Stakeholders ต่างๆ สมาชิกที่เกี่ยวข้อง และบุคคลรายใดๆ ก็ตาม ซึ่งองค์การได้กระทำ หรือมีโอกาสในการเข้าไปร่วมสัมผัส หรืออาจกระตุ้นก่อให้เกิดผลกระทบในลักษณะต่างๆ ที่สืบเนื่องขึ้นมาจากการปฏิบัติงานขององค์การแห่งนั้นอยู่ได้โดยตรง
องค์การควรมีการตรวจสอบถึงรายละเอียดของการปฏิบัติงานของตนเอง หรือเมื่อเป็นการปฏิบัติร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่ปรากฏอยู่ภายใต้ขอบเขตของบรรยากาศที่มีอิทธิพลเหล่านั้น ทั้งนี้เพื่อประเมินได้ว่า มีการแบ่งแยกสภาพหรือกีดกัน ได้เกิดเป็นผลขึ้นมาโดยตรงหรือโดยทางอ้ออมอยู่ร่วมด้วยหรือไม่ในขณะนั้นๆ นอกจากนี้ก็เพื่อต้องการก่อให้ความมั่นใจได้ถึงว่า จะไม่มีรายละเอียดของการปฏิบัติงานในลักษณะใดๆ ก็ตามที่เข้าไปมีส่วนสนับสนุน หรือช่วยเหลือกระตุ้นก่อให้เกิดสภาพของการแบ่งแยกกีดกันเหล่านั้นขึ้นมาให้เห็นเป็นผลได้ตามลำดับ ในทางปฏิบัติที่เป็นไปได้อีกประการหนึ่งก็คือ องค์การแห่งนั้น ยังควรทำการกระตุ้นส่งเสริม หรือการมีส่วนเข้าไปช่วยเหลือหน่วยงาน/ องค์การจากแหล่งภายนอกอื่นๆ สำหรับการแสดงผลของความรับผิดชอบในการป้องกันไม่ให้เกิดการแบ่งแยกหรือกีดกันสภาพดังกล่าวเหล่านี้ขึ้นมาอีกร่วมด้วย ในส่วนของการปฏิบัติงานเช่นนั้น ถ้ายังไม่ก่อให้เกิดผลความสำเร็จแล้ว องค์การเองก็ควรทำการพิจารณาทบทวนครั้งใหม่สำหรับการดำรงรักษาไว้ ซึ่งความสัมพันธ์ที่ดีร่วมกับองค์การต่างๆ จากแหล่งภายนอกเหล่านั้นได้โดยตรงต่อไป ขอยกตัวอย่างที่สามารถปฏิบัติได้ ก็คือ จำเป็นต้องมีการวิเคราะห์ และค้นหาถึงแนวทางของการปฏิบัติที่เหมาะสมประการใด ซึ่งอาจแสดงปฏิสัมพันธ์ร่วมกับกลุ่มบุคคลที่สนใจ เช่น รายละเอียดในกลุ่มสตรี และทำการเปรียบเทียบเข้ากับรายละเอียดในกลุ่มบุรุษตามลำดับ และทำการพิจารณาต่อไปว่า การกำหนดนโยบาย และแนวทางชองการปฏิบัติในเรื่องของการตัดสินใจที่แสดงความเกี่ยวข้องเหล่านั้น ล้วนส่งเสริมก่อให้เกิดผลออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม หรือช่วยสะท้อนในการปรากฏออกมาเป็นต้นแบบที่ดีและมีความเหมาะสมเข้ากับการปฏิบัติครั้งนั้นขึ้นมาได้หรือไม่ เป็นต้น นอกจากนี้องค์การยังควรทำการค้นหา หรือมีการขอคำแนะนำปรึกษาจากองค์การ/ หน่วยงานต่างๆ ที่อยู่ประจำในท้องถิ่น หรือองค์การในระดับนานาชาติที่ล้วนประกอบไปด้วยความชำนาญการที่สูงมากในเรื่องสิทธิมนุษยชนได้อีกประการหนึ่งร่วมด้วย องค์การแต่ละแห่งยังอาจได้รับแนวทางของการปฏิบัติที่ดีเพิ่มเติมขึ้นมาได้จากการเสาะแสวงหา หรือเมื่อปรากฏออกมาเป็นคำแนะนำที่เหมาะสมประการต่างๆ จากการอาศัยการควบคุมกำกับ การเฝ้าติดตาม หรือการปฏิบัติงานในเชิงสืบสวนหรือค้นหาจากการรายงาน หรือการปฏิบัติโดยตรงของหน่วยงาน/ องค์การระดับชาติ หรือในระดับนานาชาติได้อีกเช่นกัน
องค์การควรทำการพิจารณา และเอื้ออำนวยบางประการ เพื่อช่วยกระตุ้นสำหรับการยกระดับในเรื่องของการสร้างความตระหนักถึงรายละเอียดของสิทธิประการต่างๆ ให้เกิดเป็นผลขึ้นมาอย่างชัดเจนในระหว่างกลุ่มบุคคลที่อ่อนแอ หรือต้องการได้รับความใส่ใจเป็นพิเศษเหล่านั้น
องค์การควรทำการช่วยเหลือ แบ่งปันหรือสนับสนุนในการกำหนดแนวทางของการปฏิบัติที่เหมาะสมขึ้นมาประการใหม่ โดยเฉพาะเมื่อมีการละเมิดในเรื่องของการแบ่งแยกหรือกีดกันสภาพ ซึ่งเกิดขึ้นหรือเป็นมรดกตกทอดมาแล้วในอดีตตามลักษณะที่สามารถปฏิบัติงานได้ ขอยกตัวอย่าง เช่น ควรมีการกระทำที่เป็นการดิ้นรนฟันฝ่า เพื่อช่วยก่อให้เกิดสภาพของการจ้างงาน หรือสามารถดำเนินการทางธุรกิจเข้ากับองค์การอื่นๆ ซึ่งส่วนใหญ่บุคคลที่ล้วนปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องเหล่านั้น ได้รับผลของการกระทำที่เป็นการกีดกัน หรือก่อให้เกิดเรื่องของการแบ่งแยกสภาพขึ้นมาให้เห็นผลได้ตามลำดับ นอกจากนี้ยังควรทำการสนับสนุนความพยายามทุกประการ เพื่อยกระดับหรือการเพิ่มเติมขึ้นมาสำหรับรายละเอียดในเรื่องของการเข้าถึงช่องทางที่เป็นผลประโยชน์ทางการศึกษา การใช้ประโยชน์จากสาธารณูปโภคประเภทต่างๆ หรืองานบริการทางสังคม ซึ่งล้วนได้มีการปฏิเสธการเข้าถึงจากกลุ่มผู้ที่ได้รับการกีดกันหรือแบ่งแยกสภาพเหล่านี้เกิดขึ้นอยู่โดยตรง
องค์การควรมีแนวความคิดในเชิงบวก หรือมีรายละเอียดที่เป็นเชิงสร้างสรรค์อยู่ภายใต้มุมมองที่แสดงเกี่ยวข้องกับการปรากฏสภาพของความหลากหลายขึ้นมาให้เห็นได้ในระหว่างกลุ่มของประชาชน ที่ล้วนต่างแสดงปฏิสัมพันธ์อยู่ร่วมกันแทบทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังจำเป็นต้องพิจารณาไม่ใช่เพียงแต่รายละเอียดของประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนที่สำคัญและคำนึงถึงอยู่เท่านั้น แต่ยังควรมีมุมมองในส่วนที่ได้รับประโยชน์เพิ่มเดิมขึ้นจากการร่วมมือกันปฏิบัติงาน ทั้งนี้เพื่อต้องการมุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยอาศัยการพัฒนาที่สามารถดำเนินงานเป็นไปได้อย่างเต็มประสิทธิภาภาพ ทั้งในส่วนของทรัพยากรบุคคล และการดำรงรักษาไว้ซึ่งความสัมพันธ์ที่ดีร่วมกันนั่นเอง
รายละเอียดของตัวอย่างต่อไปนี้ แสดงให้เห็นถึงกลุ่มบุคคลที่อ่อนแอ หรือต้องการได้รับการใส่ใจเป็นพิเศษ และยังครอบคลุมรวมไปวิธีการปฏิบัติงาน และข้อควรคำนึงถึงบางประการที่เกี่ยวข้องอยู่โดยตรง ได้แก่
- กลุ่มสตรีและเด็กหญิง: ถึงแม้ว่าจำนวนผู้หญิงจะปรากฏพบอยู่เป็นองค์ประกอบถึงครึ่งหนึ่งของประชากรในโลก แต่ก็ยังคงมีสภาพที่ถูกปฏิเสธขึ้นมาอย่างบ่อยครั้งมาก ต่อการเข้าถึงหรือใช้ประโยชน์จากแหล่งทรัพยากรประเภทต่างๆ และการมีโอกาสเกิดขึ้นอย่างเท่าเทียมกันเมื่อเปรียบเทียบในลักษณะเช่นเดียวกับบุรุษ และเด็กชายโดยทั่วไป เพราะฉะนั้นผู้หญิงจึงย่อมมีสิทธิต่อการได้รับการแสดงความยินดี หรือช่วยถูกปกป้องคุ้มครองด้านสิทธิมนุษยชน โดยทั้งนี้จะไม่ก่อให้เกิดสภาพการแบ่งแยก หรือแสดงการกีดกันขึ้นมาต่อผลของการได้รับการศึกษาที่ต้องเป็นไปได้อย่างเหมาะสม การว่าจ้างงาน การปฏิบัติกิจกรรมในลักษณะต่างๆ ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม และเช่นเดียวกับการมีสิทธิขึ้นมาอย่างเด่นชัดต่อการตัดสินใจในเรื่องของการแต่งงาน และครอบคลุมรวมไปถึงสาระเนื้อหารายละเอียดประการอื่นๆ ที่แสดงความเกี่ยวข้องกับครอบครัว และการมีสิทธิในเรื่องการตัดสินใจของตนเองต่อการรักษาสุขอนามัยของระบบสืบพันธ์ส่วนตน เป็นต้น ดังนั้นนโยบายและกิจกรรมต่างๆ ที่ถูกดำเนินการขึ้นมาขององค์การแต่ละแห่ง จึงควรมีสภาพของการแสดงรายละเอียดในเรื่องของความเคารพนับถือต่อสิทธิสตรี และมีส่วนช่วยเหลือสนับสนุนต่อการปฏิบัติได้อย่างเท่าเทียมกันของผู้หญิง และผู้ชายตามสภาพบรรยากาศหรือบริบทที่ครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่ร่วมด้วยเสมอ [133] [149]
- กลุ่มประชาชนที่มีลักษณะพิกลพิการทางร่างกาย: บ่อยครั้งจัดถือได้ว่า เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มบุคคลที่มีสภาพอ่อนแอ หรือจำเป็นต้องได้รับการดูแลใส่ใจเป็นพิเศษ ประกอบกับมีเหตุผลของการเข้าใจผิด หรือมีความสงสัยเกิดขึ้นประกอบอยู่ด้วยในเรื่องทักษะ และระดับความสามารถที่ต้องแสดงออกมาให้เห็นของกลุ่มบุคคลเหล่านี้อยู่เป็นส่วนใหญ่ เพราะฉะนั้นองค์การเอง จึงควรทำการแบ่งปันหรือช่วยเหลือสนับสนุน ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจได้ว่า ทั้งผู้ชายและผู้หญิงที่ปรากฏลักษณะความพิกลพิการเหล่านั้น ล้วนต้องได้รับการปฏิบัติอย่างสอดคล้องเป็นไปตรงตามเกียรติศักดิ์และความพากภูมิ ความเป็นอิสระส่วนตน และการมีโอกาสในการเข้ามามีส่วนร่วมอยู่ภายในสังคมได้เป็นอย่างดี รายละเอียดของหลักการในเรื่องของการไม่แสดงการกีดกันหรือแบ่งแยกสภาพออกมาเช่นนี้ ควรได้รับผลของการเคารพนับถือ รวมถึงในทางปฏิบัติที่เป็นไปได้นั้น องค์การควรพิจารณา และพยายามจัดหาให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกในลักษณะต่างๆ ที่สามารถเข้าถึงสำหรับการใช้ประโยชน์จากกลุ่มบุคคลที่มีสภาพพิกลพิการทางร่างกายเหล่านี้ได้เป็นประการสำคัญ
- กลุ่มคนพื้นเมืองดั้งเดิม: จะถูกพิจารณาว่า เป็นกลุ่มคนที่ต้องการได้รับการใส่ใจเป็นพิเศษ ซึ่งสืบเนื่องเหตุผลมาจากการผ่านประสบการณ์ในอดีตของการถูกกีดกัน หรือแบ่งแยกที่เกิดขึ้นมาก่อนอย่างเป็นระบบ และครอบคลุมไปถึงเมื่อตกอยู่ภายใต้สภาพของการเป็นอาณานิคมหรือเมืองขึ้น การถูกไล่ที่ออกไปจากแผ่นดินแม่ของตน การคัดแยกทางสถานภาพเพื่อก่อให้เห็นถึงความแตกต่างออกไปจากประชากรในส่วนอื่นๆ และการละเมิดรายละเอียดต่างๆ ทางสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นอยู่โดยตรง เป็นต้นกลุ่มชนพื้นเมืองดั้งเดิมเหล่านี้ ส่วนใหญ่จึงมีความยินดีในสิทธิที่เกิดขึ้นโดยรวม และในส่วนของรายบุคคล ซึ่งล้วนมีความเกี่ยวข้องและปรากฏออกมาเป็นผลร่วมสำหรับรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนในระดับสากล โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อกล่าวเน้นถึงการดำรงไว้ซึ่งสิทธิ หรือการมีโอกาสในการได้รับการปฏิบัติที่เท่าทียมกันเกิดขึ้นเป็นผลติดตามมาในประการสุดท้าย สำหรับรายละเอียดของสิทธิในภาพรวมนั้น ยังครอบคลุมไปถึงเรื่องของการกำหนดหน้าที่หรือบทบาทส่วนตนเองขึ้นมา (ซึ่งมีความหมายว่า เป็นสิทธิที่จะสามารถกำหนดรายละเอียดที่ปรากฏออกมาเป็นเอกลักษณ์ สถานภาพทางการเมือง และแนวทางของความเป็นอยู่ส่วนตนเองที่จะทำการพัฒนาหรือเสริมสร้างขึ้นมาได้ตามลำดับ) การแสดงผลของการเข้าถึงและการจัดการในส่วนพื้นที่ดิน แหล่งน้ำ และทรัพยากรประเภทต่างๆ รวมไปถึงการดำรงรักษาไว้ และการมีความยินดีปรีดาในรายละเอียดที่เป็นขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ภาษา และองค์ความรู้ดั้งเดิมประจำท้องถิ่น โดยต้องปราศจากการถูกสภาพกีดกันหรือแบ่งแยกให้เห็นขึ้นมาได้ตามลำดับ และยังคงปรากฏออกมาเป็นเรื่องของการจัดการในรายละเอียดที่เป็นทรัพย์สินทางวัฒนธรรมหรือทางปัญญาได้อีกประการหนึ่งร่วมด้วย [75] [154] องค์การจึงควรแสดงเรื่องของการยอมรับ และแสดวงความเคารพนับถือต่อรายละเอียดที่เป็นสิทธิของกลุ่มคนพื้นเมืองดั้งเดิมเหล่านี้ โดยเฉพาะเมื่อมีการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับวิธีการตัดสินใจหรือปฏิบัติกิจกรรมประเภทต่างๆ ขึ้นมาอยู่โดยตรง นอกจากนี้องค์การเองยังควรพิจารณา และแสดงความเคารพนับถือต่อหลักการของการไม่ก่อให้เกิดผลของการกีดกันแบ่งแยกสภาพ และรายละเอียดที่เป็นสิทธิของคนพื้นเมืองดั้งเดิมในแต่ละรายบุคคล โดยเฉพาะเมื่อมีการดำเนินการตัดสินใจหรือปฏิบัติกิจกรรมขึ้นมาภายในขอบเขตของพื้นที่แห่งนั้นเป็นสำคัญ
- ผู้อพยพ คนงานอพยพและครอบครัว: ค่อนข้างจะปรากฏเป็นกลุ่มบุคคลที่มีสภาพอ่อนแอ หรือจำเป็นต้องได้รับการพิจารณาใส่ใจและดูแลเป็นพิเศษ ซึ่งสืบเนื่องเหตุผลมาจากการดำรงไว้ในสภาพของความเป็นบุคคลที่มาจากต่างประเทศ หรือถือกำเนิดในสภาพที่เป็นต่างแดน โดยเฉพาะอย่างยิ่งล้วนเป็นผู้อพยพที่มีสถานภาพพิเศษ หรือเมื่อไม่มีเอกสารรองรับกำกับอยู่เป็นผลโดยตรง เป็นต้น ดังนั้นองค์การจึงควรแสดงความเคารพนับถือในรายละเอียดของสิทธิดังกล่าว และทำการแบ่งปันช่วยเหลือสนับสนุน ทั้งนี้เพื่อต้องการก่อให้เกิดการกระตุ้นในการเสริมสร้างบรรยากาศของการแสดงความเคารพนับถือในเรื่องสิทธิมนุษยชนสำหรับผู้อพยพ แรงงานที่อพยพ และครอบครัวของผู้อพยพขึ้นมาได้ตามลำดับ [78] [79] [80] [142]
- ประชาชนที่ได้รับการแบ่งแยกหรือถูกกีดกันเมื่ออยู่บนพื้นฐานของผลการสืบทอดทางชนชั้นหรือวรรณะ: ปรากฏว่า มีจำนวนประชากรหลายร้อยล้านคน ที่ได้รับการถูกกีดกัน ซึ่งสืบเนื่องมาจากผลพวงของการสืบทอดคุณลักษณะทางการถือกำเนิด หรือทางชนชั้นอยู่เป็นส่วนใหญ่ รูปแบบและลักษณะของการถูกกีดกันหรือการแบ่งแยกสภาพออกมาเช่นนี้ ส่วนใหญ่จะยึดถืออยู่บนพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ ที่จัดว่า เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน และถูกกำหนดขึ้นมาเองด้วยรายละเอียดที่เป็นแนวความคิดที่ผิด โดยจากการตัดสินของกลุ่มประชาชนบางพวกได้ทำการพิจารณาว่า เป็นเรื่องของความสกปรกหรือปรากฏมีคุณค่าที่ต่ำมาก ซึ่งแสดงความเกี่ยวเนื่องเข้ากับสภาพหรือกลุ่มชนที่ถือกำเนิดขึ้นมาเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นองค์การจึงควรแสดงการหลีกเลี่ยงรายละเอียดของการปฏิบัติเช่นนั้น และเท่าที่เป็นไปได้ ยังควรแสวงหาความร่วมมือ หรือช่วยเหลือกันในการกำจัดรายละเอียดของความเป็นอคติเหล่านี้ให้หมดสิ้นลงไปได้ตามลำดับ
- ประชาชนที่ได้รับการแบ่งแยก หรือถูกกีดกันเมื่ออยู่บนพื้นฐานของความแตกต่างทางเชื้อชาติหรือผิวสี: ประชาชนถูกสภาพของการกีดกันหรือแบ่งแยกดังกล่าว ด้วยเหตุผลที่สืบเนื่องมาจากเรื่องเชื้อชาติ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และแหล่งถือกำเนิดทางชาติพันธ์อยู่เป็นประการสำคัญ ในอดีตที่ผ่านมามีเรื่องร่างของการละเมิดสิทธิเช่นนี้ โดยถูกกำหนดหรือเป็นการตัดสินด้วยแนวความคิดพื้นฐานที่ผิด โดยประชาชนบางกลุ่มหรือบางพวกถูกจัดว่า มีคุณลักษณะที่ต่ำต้อยกว่าด้วยความแตกต่างทางสีผิวหรือวัฒนธรรม เป็นต้น การแบ่งแยกทางเชื้อชาติส่วนใหญ่จะดำรงอยู่ และเกิดขึ้นภายในพื้นที่หรือภูมิภาคที่มีประวัติศาสตร์เกี่ยวข้องกับเรื่อชองการค้าทาส หรือการกดขี่ทางเชื้อชาติโดยอาศัยกลุ่มบุคคลอื่นๆ เป็นต้น [141] [150] [156]
- กลุ่มบุคคลที่มีสภาพอ่อนแออื่นๆ: จะครอบคลุมไปถึงกลุ่มคนที่ถูกพิจารณาว่า เป็น ผู้สูงอายุ ผู้ที่ถูกขับไล่ที่ คนยากจน ประชาชนที่ไม่รู้หนังสือ ประชาชนที่มีชีวิตอยู่กับโรคร้าย เช่น HIV/AIDS ฯลฯ ชนกลุ่มน้อย และกลุ่มทางศาสนา เป็นต้น
การไม่แสดงความแบ่งแยกหรืออคติขึ้นมาในรายละเอียดใดๆ รวมถึงมีการเปิดโอกาสเพื่อเอื้ออำนวยให้กลุ่มบุคคลที่อ่อนแอ หรือต้องการได้รับการดูแลเป็นพิเศษ เช่น ผู้หญิง และผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS ฯลฯ ได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันตลอด ปรากฏเป็นสิทธิมนุษยชนที่สำคัญอีกประการหนึ่งที่องค์การควรให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง
XXXXXXXXX
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น