หน้าเว็บ

วันพุธที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2554

มาตรฐาน ISO 26000 บทที่ 5 (ตอนที่ 22 หัวข้อกำหนด 6.3 - สิทธิมนุษยชน)

บทที่ 5
การอธิบายความหมาย และรายละเอียดของมาตรฐาน ISO 26000 ฉบับ FDIS (Explanation of ISO/SR 26000; Final Draft International Standard)
ตอนที่ 22: หัวข้อกำหนด 6.3 - สิทธิมนุษยชน

6.3 Human rights
6.3.1 Overview of human rights
6.3.1.1 Organizations and human rights

Human rights are the basic rights to which all human beings are entitled because they are human beings. There are two broad categories of human rights. The first category concerns civil and political rights and includes such rights as the right to life and liberty, equality before the law, and freedom of expression. The second category concerns economic, social and cultural rights and includes such rights as the right to work, the right to food, the right to the highest attainable standard of health, the right to education and the right to social security.
Various moral, legal and intellectual norms are based on the premise that human rights transcend laws or cultural traditions. The primacy of human rights has been emphasized by the international community in the International Bill of Human Rights and core human rights instruments (as discussed in Box 6). More broadly, organizations will benefit from a social and international order in which the rights and freedoms can be fully realized.
While most human rights law relates to relationships between the state and individuals, it is widely acknowledged that non-state organizations can affect individuals’ human rights, and hence have a responsibility to respect them. [42] [43]

Box 6 The International Bill of Human Rights and the core human rights Instruments

The Universal Declaration of Human Rights (UDHR; Universal Declaration) [156] was adopted by the UN General Assembly in 1948, and is the most widely recognized human rights instrument. It provides the basis for human rights law, and elements of it represent international customary law binding on all states, individuals and organizations. The Universal Declaration calls on every individual and every organs of society” to contribute to securing human rights. The International Covenant on Civil and Political Rights and the International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights are treaties adopted by the UN General Assembly in 1966 for ratification by states, and they came into force in 1976. The International Bill of Human Rights consists of the Universal Declaration on Human Rights, the International Covenant on Civil and Political Rights [143] and the International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights [144], and their optional protocols to the Covenants, one of which aims to abolish the death penalty [152].
In addition, seven core international human rights Instruments form part of international human rights law, dealing with: the elimination of all forms of racial discrimination [141], elimination of all forms of discrimination against women [133], measures to prevent and eliminate torture and other cruel, inhuman or degrading treatment or punishment [132], rights of the child [135], involvement of children in armed conflict [147], sale of children, child prostitution and child pornography [148], protection of migrant workers and their families [78, 79, 80, 142], protection of all persons from enforced disappearances [140] and rights of persons with disabilities [134]. Taken together, these instruments form the basis for international standards for universal human rights. The instruments are binding on states that ratify them. Some instruments allow for individual complaints to be lodged, subject to procedural rules outlined in optional protocols.

6.3.1.2 Human rights and social responsibility

Recognition and respect for human rights are widely regarded as essential to the rule of law and to concepts of social justice and fairness and as the basic underpinning of the most essential institutions of societies, such as the judicial system.
States have a duty and responsibility to respect, protect, fulfil human rights. An organization has the responsibility to respect human rights, including in its sphere of influence.

คำอธิบาย
6.3 สิทธิมนุษยชน
6.3.1 รายละเอียดโดยรวมของสิทธิมนุษยชน
6.3.1.1 องค์การ และสิทธิมนุษยชน
        สิทธิมนุษยชน คือ สิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคนสมควรได้รับขึ้นมา ทั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจากการมีสภาพของความเป็นมนุษย์ที่เกิดขึ้นเป็นประการสำคัญ ซึ่งส่วนใหญ่จะถือว่า มีสภาพเป็นความปรารถนาภายในอย่างแท้จริงสำหรับการมีเสรีภาพ การปรากฏความสงบและสันติสุข การมีสุขอนามัย และความสุขขึ้นมาได้ โดยทั่วไปจึงอาจจำแนกสิทธิมนุษยชนออกได้เป็นสองประเภทอย่างกว้างๆ กล่าวคือ ประเภทแรกจะเกี่ยวข้องกับการพิจารณาที่มุ่งเน้นในเรื่องสิทธิความเป็นพลเมืองและทางการเมือง และครอบคลุมรายละเอียดลงไปถึงสิทธิอื่นๆ อีกหลายประการร่วมด้วย เช่น สิทธิของการมีชีวิตและเสรีภาพ สิทธิของการดำรงความเสมอภาคและเท่าเทียมกันซึ่งเกิดขึ้นก่อนได้รับกฎหมายเข้ามา และเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เป็นต้น สำหรับประเภทที่สองจะมุ่งเน้นพิจารณาลงไปในเรื่องของการเป็นสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และอาจครอบคลุมรายละเอียดไปถึงสิทธิในลักษณะต่างๆ เช่น สิทธิในการทำงาน สิทธิในการได้รับอาหาร สิทธิเพื่อก่อให้เกิดการได้รับขึ้นมาสำหรับมาตรฐานของของการมีสุขอนามัยที่ดี สิทธิในการได้รับผลประโยชน์ทางการศึกษา และสิทธิของการเกิดขึ้นสำหรับความมั่นคงทางสังคมอยู่ร่วมด้วย เป็นต้น
        ประกอบกับยังเป็นผลสืบเนื่องมาจากปัจจัยความหลากหลายต่างๆ ที่เกิดขึ้นทั้งในด้านที่เป็นความเชื่อทางศีลธรรม ระเบียบกฎเกณฑ์ทางกฎหมาย และบรรทัดฐานทางสติเชาวน์ปัญญาต่างๆ อยู่ร่วมด้วย จึงปรากฏออกมาเป็นพื้นฐานประการสำคัญ และสามารถช่วยยืนยันอ้างผลได้อย่างชัดเจนอีกประการหนึ่งว่า สิทธิมนุษยชนดังกล่าวเช่นนั้น ล้วนมีสภาพที่อยู่นอกเหนือออกไปจากรายละเอียดทางกฎหมาย หรือขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมอยู่โดยตรง เพราะฉะนั้นรายละเอียดและความสำคัญอย่างยิ่งของสิทธิมนุษยชน จึงถูกระบุหรือมุ่งกล่าวเน้นไว้ให้เห็นอย่างชัดเจนโดยชุมชนในระดับนานาชาติ โดยเฉพาะเมื่อปรากฏรายละเอียดดังกล่าวอยู่ภายใน รัฐบัญญัติสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติ (International Bill of Human Rights)” และเครื่องมือหลักของสิทธิมนุษยชนประเภทต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่โดยตรง ซึ่งได้มีการบรรยายรายละเอียดต่างๆ เหล่านี้ไว้ให้เห็นผลอย่างชัดเจนแล้วภายในกล่องที่ 6 ประกอบอยู่ร่วมด้วย นอกจากนี้เมื่อกล่าวถึงออกมาอย่างกว้างๆ โดยทั่วไปองค์การแต่ละแห่งจึงสมควรได้รับผลประโยชน์ขึ้นมาจากทั้งในระดับสังคมและระดับนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อรายละเอียดของสิทธิและความมีเสรีภาพเช่นนั้น สามารถดำเนินการหรือเป็นการสร้างความตระหนักขึ้นมาโดยสภาพขององค์การเองอยู่โดยตรง
        ในขณะที่รายละเอียดของกฎหมายสิทธิมนุษยชนส่วนใหญ่ ล้วนแสดงความเกี่ยวเนื่องเข้ากับระดับความสัมพันธ์อย่างชัดเจนที่เกิดขึ้นร่วมกันระหว่างรัฐและในแต่ละรายบุคคลแทบทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังเป็นเรื่องที่รับรู้ และยอมรับกันอย่างกว้างขวางโดยทั่วไปว่า องค์การประเภทที่ไม่ใช่ภาครัฐทั้งหลาย ก็มีส่วนช่วยเหลือ หรืออาจส่งผลกระทบกับรายละเอียดสิทธิมนุษยชนของแต่ละรายบุคคลก็ได้อีกเช่นกัน เพราะฉะนั้นองค์การประเภทหลังเช่นนี้ จึงต้องแสดงบทบาท การมีความรับผิดชอบและเคารพนับถือต่อรายละเอียดของการปฏิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชนต่างๆ เป็นเรื่องสำคัญอีกร่วมด้วย [42] [43]
 

กล่อง 6 รัฐบัญญัติสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติ และเครื่องมือหลักของสิทธิมนุษยชน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ปฏิญญาสากล) [156] จัดถือว่า เป็นรายละเอียดของคำประกาศที่มีลักษณะไม่เป็นข้อผูกมัด ซึ่งถูกยอมรับขึ้นมาจากผลของการประชุมใหญ่สมัชชาสหประชาชาติในปี 1984 และยังคงปรากฏเป็นเครื่องมือด้านสิทธิมนุษยชนที่ถูกยอมรับนับถือกันอย่างแพร่หลายและกว้างขวางมากทั่วโลก โดยจะให้รายละเอียดขั้นพื้นฐานของการเป็นกฎหมายด้านสิทธิมนุษยชน และเนื้อหาองค์ประกอบต่างๆ ที่ปรากฏออกมาเป็นตัวแทนได้ส่วนหนึ่งของกฎหมายขนบธรรมเนียมจารีตประเพณีในระดับนานาชาติ ซึ่งมีการแสดงผลการผูกมัดเข้ากับทุกภาคส่วนของรัฐ ปัจเจกบุคคล และองค์การต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกันอยู่โดยตรง จากผลของการยอมรับดังกล่าว ทั้งในลักษณะที่เป็นสากลสำหรับรายละเอียดสิทธิต่างๆ และรวมไปถึงความต้องการในเรื่องการสร้างความตระหนักสำหรับการเข้ามามีส่วนร่วมทั้งหมดอีกเช่นนั้น ได้ช่วยส่งเสริม และกระตุ้นก่อให้เกิดรายละเอียดของคำประกาศปฏิญญาสากลที่เด่นชัดออกมา ซึ่งมีลักษณะของการมุ่งเน้นที่ว่า เพื่อต้องการให้เป็นประโยชน์ สำหรับบุคคลทุกคน และทั่วทุกภาคส่วนของสังคม และยังถือว่า เป็นเรื่องของการสนับสนุนช่วยเหลือต่อการสร้างความมั่นคงขึ้นมาในด้านสิทธิมนุษยชนต่างๆ ที่ถูกระบุหรือกล่าวถึงไว้ภายในคำประกาศปฏิญญาสากลเช่นนั้นเป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งร่วมด้วย ในระยะต่อมาจากผลที่ได้รับที่เป็นข้อตกลงในระดับสันนิบาตนานาชาติ ว่าด้วยสิทธิด้านพลเรือนและการเมือง และสันนิบาตนานาชาติ ว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งล้วนต่างก็ปรากฏออกมาเป็นสนธิสัญญาที่ถูกยอมรับนับถือจากการประชุมใหญ่ขององค์การสหประชาชาติในปี 1966 และภายหลังจากนั้นก็ยังถูกยอมรับกันโดยทั่วไปสำหรับการปรากฏสภาพออกมาเป็นกฎเกณฑ์หลักในแต่ละประเทศอีกร่วมด้วย และในที่สุดก็ถูกประกาศบังคับใช้ขึ้นมาอย่างเป็นทางการในปี 1976 ตามลำดับ นอกจากนี้คำประกาศระดับนานาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชนเช่นนี้ ยังถูกอ้างอิงไปถึงรายละเอียดเนื้อหาบางประการจากปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน สันนิบาตนานาชาติว่าด้วยสิทธิความเป็นพลเรือนและทางการเมือง [143] และสันนิบาตนานาชาติว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม [144] และเช่นเดียวกันรายละเอียดของปฏิญญาทางเลือกอื่นๆ ที่อยู่นอกเหนืออกไปจากสัตยาบันทั้งสองนั้น ซึ่งก็ยังคงมีจุดมุ่งเน้นในเรื่องของสิทธิเป็นประการสำคัญ โดยเฉพาะการมุ่งเน้นเพื่อต้องการยกเลิกโทษการประหารชีวิตมนุษย์ [152] อีกประการหนึ่งด้วย
สำหรับรายละเอียดอื่นๆ ที่อยู่นอกเหนือออกไปจากรัฐบัญญัติสิทธิมนุษยชนในระดับนานาชาติแล้วเช่นนั้น ยังเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียกว่า เนื้อหาหลัก 7 ประการของสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติ โดยเฉพาะเครื่องมือหลักประเภทต่างๆ เหล่านี้ สามารถกระตุ้นหรือช่วยก่อให้เกิดการรวมตัวออกมาเป็นส่วนที่สำคัญของกฎหมายสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติ โดยมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการแสดงบทบาทที่สำคัญตั้งแต่ในเรื่องของ: การกำจัดให้หมดสิ้นไปสำหรับทุกรูปแบบของการกีดกันหรือการแบ่งแยกทางชาติพันธ์ [141] การกำจัดให้หมดสิ้นไปในทุกรูปแบบของการกีดกัน และแบ่งแยกสภาพต่อผู้หญิงและสตรีเพศ [133] การปรากฏเป็นมาตรการเพื่อช่วยป้องกัน หรือการใช้ความพยายามทั้งมวลสำหรับการกำจัดให้หมดสิ้นไปในเรื่องของการทรมาน การกระทำทารุณกรรม และความโหดร้ายประการอื่นๆ รวมไปถึงการปฏิบัติที่ส่อให้เห็นถึงความไม่เป็นมนุษย์ และการได้รับการปฏิบัติอย่างดูถูกดูหมิ่นหรือการทำโทษขึ้นมาตามลำดับ [132] การมีสิทธิสำหรับเด็ก [135] ซึ่งครอบคลุมรายละเอียดรวมไปถึงการใช้ประโยชน์จากเด็ก โดยอาศัยมีการติดอาวุธเพื่อทำสงคราม หรือเพื่อเป็นการสร้างความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในลักษณะต่างๆ [147] การขายแรงงานเด็ก โสเภณีเด็ก และการใช้ประโยชน์จากเด็กเพื่อความลามก [148] การช่วยปกป้องคุ้มครองต่อคนงานที่อพยพเข้ามาและครอบครัว [78, 79, 80, 142] การปกป้องคุ้มครองทุกรายบุคคลจากการถูกบังคับ เพื่อให้ตนเองมีสภาพที่สูญหายออกไปตามลำดับ [140] และสิทธิของบุคคลที่มีสภาพพิกลพิการทางร่างการ [134] เป็นต้น เพราะฉะนั้นการอาศัยยึดถือรายละเอียดจากเครื่องมือหลักเหล่านี้ทุกประการเข้าด้วยกัน จึงก่อให้เกิดเป็นพื้นฐานขึ้นมาของมาตรฐานระดับนานาชาติที่ทำหน้าที่ช่วยปกป้อง และคุ้มครองความเป็นสากลของสิทธิมนุษยชนเป็นเรื่องสำคัญ รายละเอียดของเครื่องมือหลักเหล่านี้ ส่วนใหญ่ยังแสดงผลของความผูกมัดอยู่กับบทบาทของแต่ละรัฐ ซึ่งมีอำนาจในการทำหน้าที่หรืออนุมัติผลในทางปฏิบัติดังกล่าวอยู่ได้โดยตรง นอกจากนี้เครื่องมือบางประเภทเหล่านี้ ยังอนุญาตให้ในแต่ละรายบุคคล สามารถทำการร้องเรียนถึงรายละเอียดบางประการที่เกี่ยวข้องกับกฎเกณฑ์หลักต่างๆ เหล่านี้ที่ถูกระบุไว้อย่างชัดเจน ซึ่งอาจปรากฏผลออกมาเป็นทางเลือกได้อีกประการหนึ่งด้วย
6.3.1.2 สิทธิมนุษยชน และความรับผิดชอบต่อสังคม
        นอกจากนี้การยอมรับและการแสดงความเคารพนับถือต่อรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนดังกล่าว ได้กลายสภาพมาเป็นเรื่องที่สำคัญ สำหรับการประพฤติปฏิบัติให้สอดคล้องตรงตามบทบัญญัติทางกฎหมาย และยังครอบคลุมไปถึงการปรากฏออกมาเป็นแนวความคิดหลักที่เกี่ยวข้องกับการเกิดขึ้นสำหรับความยุติธรรมทางสังคมและความถูกต้อง ซึ่งจัดถือได้ว่า เป็นสิ่งสนับสนุนขั้นพื้นฐานที่สำคัญที่สุดต่อการปฏิบัติงานของสถาบันทางสังคมในลักษณะต่างๆ เช่น ระบบของการให้คำพิพากษาหรือการตัดสินคดีความทางศาล เป็นต้น ดังนั้นการวางคุณค่า และการสร้างความตระหนักในเรื่องสิทธิมนุษยชนออกมาอย่างชัดเจนเช่นนี้ จึงปรากฏเป็นเครื่องวัดที่สำคัญประการหนึ่งที่ถูกยอมรับผลกันอย่างกว้างขวางสำหรับการแสดงสภาพของการเป็นอารยธรรมขึ้นมาได้อีกประการหนึ่งด้วย
             รายละเอียดของสิทธิมนุษยชน จึงปรากฏเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานสำหรับมนุษย์ทุกคนที่สมควรจะได้รับตรงตามที่กำหนดไว้ทุกประการ เพราะฉะนั้นรัฐจึงต้องมีหน้าที่หรือการแสดงความรับผิดชอบต่อการสร้างความเคารพ การช่วยปกป้องคุ้มครอง การเพิ่มเติมให้มีผลเกิดขึ้นอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และยังเป็นเรื่องของการสร้างความตระหนักขึ้นมารองรับสำหรับรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนดังกล่าวอีกด้วย ในส่วนขององค์การหนึ่งๆ นั้น ก็สมควรต้องมีความรับผิดชอบต่อการแสดงความเคารพนับถืออีกเช่นกัน ต่อรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนทุกประการ และยังอาจครอบคลุมรวมไปถึงประเด็นอื่นๆ เมื่ออยู่ภายใต้ขอบเขตของปัจจัยที่มีอิทธิพลสำหรับองค์การแห่งนั้นอีกร่วมด้วย
             รายละเอียดของสิทธิมนุษยชน จะปรากฏเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานสำหรับมนุษย์ทุกคนสมควรจะได้รับตามที่กำหนดไว้ทุกประการ เพราะฉะนั้นรัฐจึงต้องมีหน้าที่หรือการแสดงความรับผิดชอบต่อการสร้างความเคารพ การช่วยปกป้องคุ้มครอง การเพิ่มเติมให้มีผลเกิดขึ้นอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และยังเป็นเรื่องของการสร้างความตระหนักขึ้นมารองรับสำหรับรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนดังกล่าวอีกด้วย ในส่วนขององค์การหนึ่งๆ นั้น ก็สมควรต้องมีความรับผิดชอบต่อการแสดงความเคารพนับถืออีกเช่นกัน ต่อรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนทุกประการ และยังอาจครอบคลุมรวมไปถึงประเด็นอื่นๆ เมื่ออยู่ภายใต้ขอบเขตของปัจจัยที่มีอิทธิพลสำหรับองค์การแห่งนั้นอีกร่วมด้วย นอกจากนี้การยอมรับและการแสดงความเคารพนับถือต่อสิทธิมนุษยชน ได้กลายสภาพมาเป็นเรื่องที่สำคัญ สำหรับการประพฤติปฏิบัติตามบทบัญญัติทางกฎหมาย และครอบคลุมไปถึงการปรากฏออกมาเป็นแนวความคิดหลักที่เกี่ยวข้องกับการเกิดขึ้นสำหรับความยุติธรรมทางสังคมและความถูกต้อง ซึ่งจัดถือได้ว่า เป็นสิ่งสนับสนุนขั้นพื้นฐานที่สำคัญที่สุดต่อการปฏิบัติงานของสถาบันทางสังคมในลักษณะต่างๆ เช่น ระบบของการให้คำพิพากษาหรือการตัดสินคดีทางศาล เป็นต้น ดังนั้นการวางคุณค่า และการสร้างความตระหนักในเรื่องสิทธิมนุษยชนออกมาอย่างชัดเจนเช่นนี้ จึงปรากฏเป็นเครื่องวัดที่สำคัญประการหนึ่งที่ถูกยอมรับผลกันอย่างกว้างขวางสำหรับการแสดงสภาพของการเป็นอารยธรรมขึ้นมาได้อีกประการหนึ่งด้วย
6.3.2 Principles and considerations
6.3.2.1 Principles
Human rights are inherent, inalienable, universal, indivisible and interdependent:
- they are inherent, in that they belong to every person by virtue of being human;
- they are inalienable, in that people cannot consent to giving them up or be deprived of them by governments or any other institutions;
- they are universal, in that they apply to everyone regardless of any status;
- they are indivisible, in that no human rights may be selectively ignored; and
- they are interdependent, in that realization of one right contributes to the realization of other rights.

6.3.2.2 Considerations
States have a duty to protect individuals and groups against abuse of human rights, as well as to respect and fulfill human rights within their jurisdiction. States are increasingly taking steps to encourage organizations based in their jurisdiction to respect human rights even where they operate outside that jurisdiction. It is widely recognized that organizations and individuals have the potential to and do affect human rights, directly and indirectly. Organizations have a responsibility to respect all human rights, regardless of whether the state is unable or unwilling to fulfill its duty to protect. To respect human rights means in the first place, to not infringe the rights of others. This responsibility entails taking positive steps to ensure that the organization avoids passively accepting or actively participating in the infringement of rights. To discharge the responsibility to respect human rights requires due diligence. Where the state fails in its duty to protect, an organization should be especially vigilant to ensure that it meets its responsibility to respects human rights; human rights due diligence may point to the need for action beyond what is necessary in the normal course of business..
Some fundamental norms of international criminal law impose legal accountability and liability on individuals and organizations as well as states for serious abuse of international human rights. These include the prohibition of torture, crimes against humanity, slavery and genocide. In some countries, organizations are subject to prosecution under national legislation on the basis of internationally recognized crimes. Other human rights instruments determine the scope of legal obligations of organizations with regard to human rights and the manner of their implementation and enforcement.
The baseline responsibility of non-state organizations is to respect human rights. However, an organization may face stakeholder expectations that it go beyond respect, or it may want to contribute to the fulfilment of human rights. The concept of sphere of influence helps an organization to comprehend the extent of its opportunities to support human rights among different rights holders. Thus it may help an organization to analyze its ability to influence or encourage other parties, the human rights issues on which it can have the greatest impact, and the rights holders that would be concerned.
An organization’s opportunities to support human rights will often be greatest among its own operations and employees. Additionally, an organization will have opportunities to work with its suppliers, peers or other organizations and the broader society. In some cases, organizations may wish to increase their influence through collaboration with other organizations and individuals. Assessment of the opportunities for action and for greater influence will depend on the particular circumstances, some specific to the organization and some specific to the context in which it is operating. However, organizations should always consider the potential for negative or unintended consequences when seeking to influence other organizations.
Organizations should consider facilitating human rights education to promote awareness of human rights among rights holders and those with the potential to have an impact on them.
คำอธิบาย
 
6.3.2 หลักการ และข้อควรพิจารณา
6.3.2.1 หลักการ
          สิทธิมนุษยชน คือ สิทธิตามธรรมชาติที่ปรากฏขึ้นมาอยู่ภายในตนเอง โดยไม่แสดงความแตกต่าง แปลกแยกออกไปหรือแสดงความขัดแย้งกัน มีลักษณะและสภาพของความเป็นสากล ไม่สามารถแบ่งแยกออกจากกันได้ และต้องมีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน กล่าวคือ:
        - การปรากฏสิทธิในเรื่องของความเป็นธรรมชาติ หรือเมื่อเกิดขึ้นมาอยู่ภายในตัวตนเองเช่นนั้น ซึ่งหมายความถึงว่า สิทธิเช่นนั้นย่อมปรากฏเป็นของบุคคลทุกบุคคล ซึ่งสืบเนื่องเหตุผลมาจากการแสดงความเป็นมนุษย์โดยทั่วๆ ไป นั่นเอง
        - การปรากฏสิทธิในเรื่องของการไม่แสดงความแตกต่างที่แปลกแยกออกไป หรือมีความขัดแย้งกันขึ้นมาเช่นนั้น ย่อมหมายความถึงว่า ประชาชนทุกคนต่างแสดงความไม่ยินยอมที่จะมีการมอบหมาย และเห็นชอบอย่างเป็นเอกฉันท์ ต่อการถูกตัดซึ่งสิทธิทั้งหลาย โดยอาศัยการแก่งแย่งเอาไปจากการปฏิบัติของหน่วยงานจากภาครัฐบาล หรือสถาบันอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอยู่โดยตรง
        - การปรากฏสิทธิในเรื่องของความเป็นสากลเช่นนั้น ย่อมหมายความถึงว่า สิทธิดังกล่าวล้วนถูกใช้ประโยชน์กับประชาชนทุกคน ทั้งนี้โดยไม่ต้องคำนึงถึงรายละเอียดของความแตกต่างในเรื่องสถานภาพประการใดๆ ขึ้นมาก็ตาม
        - การปรากฏสิทธิในเรื่องที่ไม่สามารถแบ่งแยกออกจากกันได้เช่นนั้น ย่อมหมายความถึงว่า ต้องไม่มีรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนในลักษณะใดๆ ก็ตามที่ได้รับการปฏิบัติเป็นไปอย่างเพิกเฉยหรือมีความละเลยเกิดขึ้นมาให้เห็นผลได้โดยตรง และ
        - การมีลักษณะที่พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเช่นนั้น โดยจะหมายความไปถึงว่า ผลจากความตระหนักต่อสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมมีส่วนช่วยสนับสนุนต่อการแสดงความตระหนักออกมาในสิทธิด้านอื่นๆ ได้อีกประการหนึ่งร่วมด้วย
  
หลักการขั้นพื้นฐานของสิทธิมนุษยชนก็คือ มนุษย์นั้นมีสิทธิหรือสถานะสากลที่เท่าเทียมกัน (Principle of Equality) โดยทั้งนี้ไม่ขึ้นอยู่กับขอบเขตของกฎหมาย หรือปัจจัยท้องถิ่นอื่นใด เช่น เชื้อชาติ และสัญชาติ เป็นหลัก
6.3.2.2 ข้อควรพิจารณา
        รัฐ/ ประเทศแต่ละประเทศส่วนใหญ่จะมีหน้าที่ในการแสดงผลของความผูกมัดขั้นพื้นฐาน เพื่อการช่วยเหลือและปกป้องคุ้มครองในแต่ละรายบุคคล/ ปัจเจกบุคคล หรือกลุ่มของบุคคลต่อการไม่กระทำการใดๆ ที่เป็นเรื่องของการละเมิดผลด้านสิทธิมนุษยชนขึ้นมา และเช่นเดียวกันเพื่อแสดงผลของความเคารพนับถือ และการเติมเต็มซึ่งระดับความสมบูรณ์ของสิทธิมนุษยชนให้เกิดขึ้น หรือสามารถดำเนินงานเป็นไปได้อย่างสอดคล้องเมื่ออยู่ภายใต้ขอบเขตของการปฏิบัติงานที่ตอบสนองเป็นไปตรงตามอำนาจหน้าที่ของศาลหรือการพิจารณาตัดสินคดีอีกประการหนึ่งร่วมด้วย โดยทั่วไปรัฐจึงควรดำเนินการให้เป็นไปในลักษณะที่มีความก้าวหน้าเกิดขึ้นในรายละเอียดทุกขั้นตอน ทั้งนี้เพื่อทำการกระตุ้นให้องค์การทั้งหลาย ล้วนต้องแสดงความยึดถืออยู่บนพื้นฐานของการพิจารณาตัดสินคดีความ โดยต้องมีการแสดงความเคารพนับถือต่อรายละเอียดของสิทธิมนุษยชน หรือเมื่ออยู่ภายนอกขอบเขตของการพิจารณาตัดสินคดีทางกฎหมายจะเกิดขึ้นอยู่ร่วมด้วยหรือไม่ก็ตาม เพราะฉะนั้นจึงเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางโดยทั่วไปว่า องค์การแต่ละแห่งหรือในแต่ละรายบุคคลเช่นนั้นก็ตาม ล้วนต่างมีศักยภาพต่อการประพฤติปฏิบัติ ที่จะสามารถส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนขึ้นมาได้ทั้งทางตรงและทางอ้อมตามลำดับ องค์การทั้งหลายจึงควรมีความรับผิดชอบต่อการแสดงความเคารพนับถือต่อรายละเอียดของสิทธิมนุษยชน และถึงแม้ว่าในกรณีที่รัฐหรือด้วยเหตุผลสืบเนื่องประการใดๆ ก็ตาม ไม่สามารถจะดำเนินการขึ้นมาด้วยตนเอง หรือมีความตั้งใจจริงที่จะกระทำเพื่อก่อให้เกิดการเติมเต็มในหน้าที่สำหรับการช่วยปกป้อง หรือคุ้มครองสิทธิมนุษยชนดังกล่าวออกมาให้เห็นได้อย่างเป็นผลที่ดีเกิดขึ้นก็ตาม การแสดงความเคารพนับถือต่อสิทธิมนุษยชนในเรื่องดังกล่าว จึงปรากฏผลออกมาเป็นแนวทางที่สำคัญในลำดับแรกว่า ไม่ได้ใช้ประโยชน์เพื่อต้องการละเมิดสิทธิสำหรับผู้อื่น หรือต้องการก่อให้เกิดความเป็นอันตรายขึ้นมาได้โดยตรง รายละเอียดของการแสดงความรับผิดชอบเช่นนี้ จึงครอบคลุมไปถึงแนวทางการปฏิบัติงานต่างๆ ที่ต้องดำเนินการหรือกระทำเป็นขั้นเป็นตอนในลักษณะเชิงบวกเป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้เพื่อมุ่งก่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า องค์การที่เกี่ยวข้องทั้งหลาย จะได้มีความพยายามในการหลีกเลี่ยงต่อการประพฤติปฏิบัติ หรือการเข้าไปมีส่วนร่วมทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการละเมิดสิทธิทั้งหลายเหล่านั้นเป็นประการสำคัญ เพราะฉะนั้นการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อทำให้บรรลุถึงความรับผิดชอบในเรื่องของการแสดงความเคารพนับถือต่อสิทธิมนุษยชนดังกล่าวเกิดขึ้น จึงต้องการให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อการกำหนดหรือมีการประเมินถึงรายละเอียดผลกระทบ หรือสิทธิอันควรที่จะได้รับตามกฎหมายขึ้นมาก่อนเป็นเบื้องต้น โดยเฉพาะเมื่ออยู่ภายใต้สถานการณ์ที่รัฐเองก็ประสบความล้มเหลวเป็นอย่างยิ่งต่อการทำหน้าที่ เพื่อช่วยปกป้องคุ้มครองดังกล่าวอีกประการหนึ่งร่วมด้วยเช่นนั้น องค์การทั้งหลายจึงสมควรต้องดำเนินมาตรการเพิ่มเติมในลักษณะอื่นๆ บางประการขึ้นมา ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจได้ต่อการประพฤติปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการมีความเคารพนับถือต่อสิทธิมนุษยชนให้เกิดขึ้นเป็นเรื่องสำคัญ อนึ่งการกำหนดหรือประเมินถึงรายละเอียดผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนเช่นนั้น จึงอาจปรากฏผลว่า เป็นเรื่องที่มีความสำคัญ  และแสดงถึงระดับความต้องการ เพื่อให้มีการปฏิบัติงานบางอย่างเกิดขึ้นเป็นการเพิ่มเติมขึ้นมา โดยจะปรากฏออกมาอยู่นอกเหนือขอบเขตของการปฏิบัติงานที่มีความจำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานทางธุรกิจในสภาพโดยทั่วๆ ไปนั่นเอง
        ถึงแม้ว่าในส่วนที่เป็นบรรทัดฐานที่ปรากฏออกมาเป็นเนื้อหาประการสำคัญของกฎหมายอาญาในระดับนานาชาติ ล้วนจะประกอบไปด้วยรายละเอียดที่ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า เป็นเรื่องของการบังคับใช้ประโยชน์ ทั้งนี้เพื่อต้องการกระตุ้นก่อให้เกิดผลของความพร้อมรับผิดทางกฎหมาย หรือเป็นการสร้างความน่าเชื่อถือให้เกิดขึ้นมาสำหรับแต่ละรายบุคคล องค์การ และเช่นเดียวกับในทุกภาคส่วนของรัฐแต่ละแห่งที่ได้มีการกระทำ หรือมีการก่อให้เกิดละเมิดเป็นผลขั้นร้ายแรงต่อสิทธิมนุษยชนขึ้นมาในระดับนานาชาติก็ตาม รายละเอียดของเรื่องพื้นฐานเหล่านี้ จึงครอบคลุมไปถึงข้อห้ามหรือการละเว้นในเรื่องของการทรมานหรือกระทำทารุณกรรม การประกอบอาชญากรรมที่ละเมิดผลความเป็นมนุษย์ การเป็นทาส หรือการทำลายล้างเผ่าพันธ์มนุษย์ให้หมดสิ้นลงไป เป็นต้น ในบางประเทศ องค์การทั้งหลายที่กระทำการละเมิดที่เป็นผลดังกล่าว จึงอาจถูกดำเนินการฟ้องร้องทางคดีความ โดยเฉพาะเมื่ออยู่ภายใต้การกำหนดออกมาเป็นรายละเอียดทางนิติบัญญัติประจำชาติของตนเอง หรืออาจพิจารณาเพิ่มเติมได้ว่า เป็นรายละเอียดส่วนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการปรากฏสภาพของการเป็นอาชญากรรมในระดับนานาชาติก็ได้อีกเช่นเดียวกัน สำหรับรายละเอียดอื่นๆ ที่ปรากฏผลอยู่ภายนอกขอบเขตของกฎหมายอาญาในระดับนานาชาติ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือด้านสิทธิมนุษยชนในรูปแบบต่างๆ กันประเภทใดก็ตาม ล้วนจะใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นตัวกำหนดขอบเขตของการแสดงผลการผูกมัดทางกฎหมายขององค์การแห่งนั้น และอาจครอบคลุมรายละเอียดรวมไปถึงแนวทางของการจัดตั้ง วิธีการปฏิบัติงานที่สำคัญประการต่างๆ ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นเครื่องชี้บ่งถึงเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเด็นต่างๆ เหล่านั้นได้เป็นอย่างดี
        ในส่วนของการแสดงความรับผิดชอบขั้นพื้นฐาน ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับองค์การที่ไม่ใช่ภาครัฐก็เช่นเดียวกัน กล่าวคือ ต้องแสดงความเคารพนับถือต่อรายละเอียดของประเด็นในด้านต่างๆ ของสิทธิมนุษยชนเป็นประการสำคัญ แต่อย่างไรก็ตามองค์การแต่ละแห่ง อาจมีการเผชิญหน้ากับรายละเอียดที่เป็นความคาดหวังของกลุ่ม Stakeholders ต่างๆ ซึ่งปรากฏผลออกมาเป็นรายละเอียดที่อยู่สูงและเหนือกว่าความคาดหวังต่างๆ เช่นนั้นก็อาจเป็นไปได้ หรือในสภาพบางครั้งอาจมีความต้องการที่มีความก้าวไกลมากเกินไปกว่าการแบ่งปัน ช่วยเหลือ/ สนับสนุน และเป็นการกระทำที่ปรากฏออกมาเป็นลักษณะเพื่อการเติมเต็มสำหรับรายละเอียดของสิทธิมนุษยชนต่างๆ เหล่านั้น ก็อาจเป็นไปได้อีกเช่นกันในทางปฏิบัติ เพราะฉะนั้นรายละเอียดที่สะท้อนถึงแนวความคิดในเรื่อง บรรยากาศของปัจจัยที่มีอิทธิพล ภายในองค์การแต่ละแห่ง จึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาช่วยเหลือขอบเขตสำหรับองค์การและแห่งเช่นนั้น จะได้มีความเข้าใจในรายละเอียดของเนื้อหาที่เป็นไปอย่างครอบคลุม และรวมไปถึงยังเป็นการสร้างโอกาสในเรื่องการช่วยสนับสนุนรายละเอียดด้านสิทธิมนุษยชนในระหว่างกลุ่มผู้ยึดถือครองสิทธิต่างๆ เช่นนั้น ให้เกิดเป็นผลขึ้นมาได้ในระดับสูงสุดเป็นประการสำคัญ นอกจากนี้ยังเป็นลักษณะของการช่วยเหลืออีกประการหนึ่งในการส่งเสริมทำให้องค์การแต่ละแห่งเช่นนั้น สามารถทำการวิเคราะห์ค้นหาระดับความสามารถของตนเองในการมีอิทธิพล หรือการเข้าไปมีส่วนกระตุ้นช่วยส่งเสริมสำหรับองค์การหรือกลุ่มผู้ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่อยู่ภายนอกองค์การดังกล่าวได้อีกประการหนึ่งด้วย โดยเฉพาะการมุ่งเน้นลงไปที่รายละเอียดของประเด็นในด้านต่างๆ ของสิทธิมนุษยชน ซึ่งอาจปรากฏออกมาเป็นผลกระทบเกิดขึ้นได้ในระดับสูงสุด และยังครอบคลุมรวมไปถึงรายละเอียดต่างๆ ของผู้ถือครองสิทธิจากกลุ่มที่เกี่ยวข้องต่างๆ ซึ่งล้วนจำเป็นต้องได้รับการพิจารณาและคำนึงถึงเป็นประการสำคัญอยู่ร่วมด้วยเสมอ
 
ภายใต้ขอบเขต บรรยากาศของปัจจัยที่มีอิทธิพล (Sphere of influence)” ภายในองค์การ การปฏิบัติงานหรือดำเนินธุรกิจขึ้นมาย่อมส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ ตั้งแต่พนักงาน/ ผู้ปฏิบัติงานตามสัญญา ชุมชนท้องถิ่น คู่ค้า/หุ้นส่วนทางธุรกิจ และภาครัฐบาล เป็นต้น
        นอกจากนี้ภายใต้สถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นและดำเนินเป็นไปอย่างหลากหลายเช่นนั้น การให้ความสำคัญต่อรายละเอียดของเรื่องบรรยากาศของปัจจัยที่มีอิทธิพลอยู่ภายในองค์การแต่ละแห่งเช่นนั้น ยังเป็นการสร้างโอกาสต่อการช่วยส่งเสริมหรือสนับสนุนด้านสิทธิมนุษยชนให้เกิดเป็นผลขึ้นมาได้ดังกล่าว จึงถือว่า เป็นเรื่องที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการแสดงความเคารพนับถือในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการปฏิบัติงานของกลุ่มต่างๆ สำหรับองค์การแห่งนั้น และครอบคลุมรวมไปถึงลูกจ้าง/ คนงาน ผู้ปฏิบัติงาน และคู้ค้า/ ผู้ส่งมอบแต่ละราย หรือคู่แข่งขันทางการค้าขององค์การแห่งนั้น เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อต้องการทำให้ระดับความสามารถด้านสิทธิมนุษยชนเช่นนั้น ถูกปฏิบัติงานขึ้นมาอย่างเป็นรูปธรรม หรือมีการเผยแพร่รายละเอียดของผลการปฏิบัติงานดังกล่าวออกไปสู่แหล่งภายนอกองค์การ ที่อาจปรากฏสภาพของการเป็นห่วงโซ่อุปทานที่มีคุณค่า การแสดงลักษณะความเกี่ยวข้องเข้ากับชุมชนประจำท้องถิ่น และขอบเขตอื่นๆ ที่อยู่สูงนอกเหนือกว่าสภาพขององค์การแห่งนั้นออกไปตามลำดับ ในบางกรณีองค์การเองอาจมีความปรารถนาอย่างแรงกล้าเป็นการส่วนตน ที่ต้องการยกระดับให้เพิ่มสูงขึ้นมาเมื่ออยู่ภายใต้ขอบเขตบรรยากาศหรือปัจจัยที่มีอิทธิพลขององค์การแห่งนั้น โดยอาจอาศัยผ่านความร่วมมือกับองค์การภายนอกอื่นๆ และในแต่ละรายบุคคลอีกร่วมด้วย โดยเฉพาะเมื่อมีการประเมินโอกาสสำหรับการปฏิบัติงานในแต่ละระดับหรือการแสดงอำนาจหน้าที่ ยังขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้นๆ หรือรายละเอียดที่มีความจำเพาะเจาะจงต่อองค์การ และบางสถานการณ์ยังแสดงความจำเพาะเจาะจงที่เป็นไปตรงต่อบริบทของสิทธิมนุษยชนที่ล้วนต้องการปฏิบัติ หรือต้องการกระทำขึ้นมาเพื่อให้เห็นผลเป็นไปได้อย่างต่อเนื่องอีกประการหนึ่งด้วย แต่อย่างไรก็ตามองค์การเอง ก็ควรทำการพิจารณาถึงรายละเอียดบางประการที่ปรากฏผลออกมาเป็นศักยภาพในเชิงลบ หรือเมื่อเป็นลำดับความต่อเนื่องที่เกิดขึ้นมาโดยสภาพที่ไม่ตั้งใจเป็นหลัก โดยเฉพาะเพื่อต้องการค้นหาช่องทาง หรือการมีแนวทางที่เหมาะสมสำหรับการแสดงอิทธิพลที่สำคัญออกมาต่อการเหนี่ยวนำสภาพองค์การอื่นๆ ที่อยู่ภายนอกอีกประการหนึ่งด้วย
        องค์การทั้งหลายจึงควรทำการพิจารณา และคำนึงถึงรายละเอียดของปัจจัยต่างๆ ที่มีส่วนช่วยเอื้ออำนวยก่อให้เกิดผลต่อการศึกษาด้านสิทธิมนุษยชนขึ้นมาเป็นไปอย่างครอบคลุมและกว้างขวางได้มากที่สุด ทั้งนี้เพื่อเป็นการช่วยส่งเสริม และสนับสนุนในการก่อให้เกิดการสร้างความตระหนักในรายละเอียดของประเด็นด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนขึ้นมาภายในระหว่างกลุ่มต่างๆ ของผู้ถือครองสิทธิดังกล่าว และยังครอบคลุมไปถึงกลุ่มผู้ถือครองสิทธิอื่นๆ ที่อยู่ภายนอกองค์การ ซึ่งอาจมีโอกาส หรือปรากฏเป็นแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบในเรื่องของการละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้นมาให้เห็นได้เป็นส่วนใหญ่
XXXXXXXXX

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น