หน้าเว็บ

วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

มาตรฐาน ISO 26000 บทที่ 2 (ตอนที่ 3 คณะกรรมการด้านเทคนิคขององค์การ ISO)

บทที่ 2
บทบาทขององค์การ ISO และการจัดทำมาตรฐานนานาชาติ (Role of ISO for International Standards)

ตอนที่ 3: คณะบุคคล/ ผู้ปฏิบัติงานในการยกร่างมาตรฐาน ISO/IS ฉบับต่างๆ ที่นิยมใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน

5. คณะกรรมการด้านเทคนิคขององค์การ ISO (ISO Technical Committee)
        ภารกิจหลักโดยทั่วไปในการยกร่างตัวมาตรฐานขึ้นมาใช้ประโยขน์โดยตรง ถือว่า เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการด้านเทคนิคขององค์การ ISO หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ISO Technical Committee (ISO/TC) แทบทั้งสิ้น นอกจากนี้ภายในคณะกรรมการ TC แต่ละคณะยังประกอบไปด้วยกลุ่มคณะกรรมการย่อย (Subcommittee; SC) และกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน (Working groups; WG) อีกเป็นจำนวนมากด้วย เพราะฉะนั้นในทางปฏิบัติแล้ว รายละเอียดของตัวมาตรฐานนานาชาติฉบับต่างๆ จึงถูกกำหนด โดยอาศัยจากผลงานของคณะกรรมการ TC ในแต่ละชุดที่เรียงกันตามลำดับหมายเลขอย่างต่อเนื่องกันไปไม่มีที่สิ้นสุดในบัญชีรายชื่อแสดงรายละเอียดของคณะกรรมการทั้งหมดดังกล่าว เช่น เริ่มต้นในลำดับแรกจาก JTC 1 หรือคณะกรรมการด้านเทคนิคร่วมขององค์การ ISO และองค์การ IEC (ISO/IEC Joint Technical Committee) โดยทำหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดมาตรฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นมาในปี 1987 และติดตามมาด้วยรายชื่อของคณะกรรมการ ISO/ TC ลำดับที่ 1, 2, 3 และอื่นๆ ต่อไปตามลำดับ โดยที่ TC 1 (Screw threads) ถูกจัดตั้งขึ้นมาในปี 1947 จนกระทั่งถึง TC 245 (Project Committee: Cross-border trade of second-hand goods) ซึ่งถูกเพิ่งจัดตั้งขึ้นมาเป็นลำดับสุดท้ายในปี 2006 (พิจารณาตารางที่ 4 ประกอบด้วย)
ตารางที่ 4 บัญชีรายชื่อแสดงคณะกรรมการด้านเทคนิคขององค์การ ISO และภารกิจหลักของการปฏิบัติงานมาตรฐานตามประเภทของกลุ่ม/ สาขาที่เกี่ยวข้อง 8/
ลำดับที่
คณะกรรมการ TC
มาตรฐานปฏิบัติ
จำนวนมาตรฐานที่จัดพิมพ์ขึ้นมา
จำนวนโครงการที่ปฏิบัติงาน
I. กลุ่ม/ สาขา: การเกษตร (Agriculture)
1.
TC 34
Food products
724
117
2.
TC 54
Essential oils
127
9
3.
TC 81
Common names for pesticides and other agrochemicals
9
1
4.
TC 126
Tobacco and tobacco products
52
7
5.
TC 134
Fertilizers and soil conditioners
30
-
II. กลุ่ม/ สาขา: สารเคมีพื้นฐาน (Basic Chemicals)
1.
TC 27
Solid mineral fuels
105
20
2.
TC 28
Petroleum products and lubricants
232
40
3.
TC 35
Paints and varnishes
307
52
4.
TC 47
Chemistry
118
1
5.
TC 193
Natural gas
50
14
III. กลุ่ม/ สาขา: เรื่องพื้นฐานทั่วๆไป (Basic Subjects)
1.
TC 10
Technical product documentation
130
15
2.
TC 12
Quantities, units, symbols, conversion factors
25
9
3.
TC 48
Laboratory equipment
95
4
4.
TC 69
Applications of statistical methods
74
16
5.
TC 145
Graphical symbols
22
33
6.
TC 176
Quality management and quality assurance
18
5
7.
TC 223
Social Security
1
4
IV. กลุ่ม/ สาขา: การก่อสร้าง (Building)
1.
TC 21
Equipment for fire protection and fire fighting
79
21
2.
TC 59
Building construction
94
27
3.
TC 71
Concrete, reinforced concrete and pre-stressed concrete
19
9
4.
TC 74
Cement and lime
4
7
5.
TC 92
Fire safety
94
22
6.
TC 136
Furniture
24
1
7.
TC 165
Timber structures
18
11
8.
TC 178
Lifts, escalators and moving walks
23
12
V. กลุ่ม/ สาขา: สิ่งแวดล้อม (Environment)
1.
TC 43
Acoustics
189
42
2.
TC 146
Air quality
97
32
3.
TC 147
Water quality
238
42
4.
TC 190
Soil quality
111
21
5.
TC 207
Environmental management
22
6
VI. กลุ่ม/ สาขา: สุขภาพ และการแพทย์ (Health and Medicine)
1.
TC 83
Sports and recreational equipment
71
4
2.
TC 94
Personal safety – Protective clothing and equipment
96
24
3.
TC 106
Dentistry
153
31
4.
TC 159
Ergonomics
99
21
5.
TC 170
Surgical instruments
6
-
6.
TC 173
Assistive products for persons with disability
69
15
7.
TC 198
Sterilization of health care products
40
11
8.
TC 210
Quality management and corresponding general aspects for medical devices
16
4
9.
TC 217
Cosmetics
11
9
10.
TC 229
Nanotechnologies
0
24
VII. กลุ่ม/ สาขา: กระบวนการสารสนเทศ กราฟฟิค ภาพถ่าย และงานบริการ (Information processing, graphics, photography and services)
1.
JTC 1
Information Technology
2228
555
2.
TC 36
Cinematography
102
6
3.
TC 42
Photography
176
10
4.
TC 46
Information and documentation
93
21
5.
TC 68
Financial services
49
9
6.
TC 130
Graphic technology
61
11
7.
TC 184
Automation systems and integration
635
87
8.
TC 211
Geographic information/ Geomatics
41
23
9.
TC 225
Market, opinion and social research
1
1
10.
TC 228
Tourism and related services
7
2
11.
TC 232
Learning services for non-formal education and training
-
-
VIII. กลุ่ม/ สาขา: วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
1.
TC 1
Screw threads
18
3
2.
TC 2
Fasteners
191
13
3.
TC 4
Rolling bearings
59
17
4.
TC 5
Ferrous metal pipes and metallic fittings
65
11
5.
TC 8
Ships and marine technology
218
47
6.
TC 20
Aircraft and space vehicles
514
83
7.
TC 22
Road vehicles
688
131
8.
TC 23
Tractors and machinery for agriculture and forestry
305
78
9.
TC 29
Small tools
375
69
10.
TC 31
Tyres, rims and valves
68
15
11.
TC 39
Machine tools
147
18
12.
TC 60
Gears
61
12
13.
TC 72
Textile machinery and accessories
170
26
14.
TC 96
Cranes
99
15
15.
TC 115
Pumps
20
5
16.
TC 117
Fans
19
3
17.
TC 123
Plain bearings
68
9
18.
TC 131
Fluid power systems
209
52
19.
TC 148
Sewing machines
8
1
20.
TC 149
Cycles
16
-
21.
TC 153
Valves
24
3
22.
TC 188
Small craft
83
29
23.
TC 192
Gas turbines
16
4
24.
TC 199
Safety of machinery
30
15
IX. กลุ่ม/ สาขา: วัสดุที่ไม่ใช่โลหะ (Non-metallic Materials)
1.
TC 6
Paper, board and pulps
166
38
2.
TC 38
Textiles
341
53
3.
TC 45
Rubber and rubber products
414
90
4.
TC 61
Plastics
597
98
5.
TC 206
Fine ceramics
36
11
6.
TC 216
Footwear
60
17
7.
TC 221
Geosynthetics
27
10
X. กลุ่ม/ สาขา: สินแร่และโลหะ (Ores and Metals)
1.
TC 17
Steel
302
54
2.
TC 26
Copper and copper alloys
38
-
3.
TC 79
Light metals and their alloys
106
26
4.
TC 102
Iron ore and direct reduced iron
68
13
5.
TC 107
Metallic and other inorganic coatings
123
38
6.
TC 119
Powder metallurgy
64
18
7.
TC 155
Nickel and nickel alloys
55
-
8.
TC 183
Copper, lead, zinc and nickel ores and concentrates
21
5
XI. กลุ่ม/ สาขา: การบรรจุหีบห่อ/ การกระจายสินค้า (Packaging/ Distribution of Goods)
1.
TC 51
Pallets for unit load method of materials handling
17
6
2.
TC 63
Glass containers
25
-
3.
TC 104
Freight containers
48
3
4.
TC 110
Industrial trucks
43
23
5.
TC 122
Packaging
59
10
XII. กลุ่ม/ สาขา: เทคโนโลยีพิเศษ (Special Technologies)
1.
TC 85
Nuclear energy
156
42
2.
TC 86
Refrigeration and air-conditioning
24
6
3.
TC 112
Vacuum technology
18
5
4.
TC 135
Non-destructive testing
51
11
5.
TC 137
Footwear sizing designations and marking systems
1
2
6.
TC 172
Optics and photonics
278
36
7.
TC 174
Jewellery
12
5
8.
TC 180
Solar energy
16
1
9.
TC 203
Technical energy systems
5
-
        จากรายละเอียดของตารางในเบื้องต้น เท่าที่สังเกตจะพบว่า ลำดับบางเลขที่ของคณะกรรมการ TC ได้สูญหายออกไปจากบัญชีแสดงรายชื่อ ทั้งนี้ก็สืบเนื่องมาจากการแต่งตั้งขึ้นมาในบางครั้ง จะมีสภาพเป็นการปฏิบัติภารกิจเพียงชั่วคราวในการยกร่างตัวมาตรฐานฉบับนั้นๆ และเมื่อสิ้นสุดงานดังกล่าวลงแล้ว คณะกรรมการชุดนั้นก็ถูกยกรายชื่อออกไป เช่น คณะกรรมการ TC 3, TC 7 และ TC 9 เป็นต้น

    5.1 เลขาธิการของคณะกรรมการ TC และ SC (Technical committee and subcommittee secretariats)
        ในคณะกรรมการ TC หรือกลุ่มคณะกรรมการย่อย SC แต่ละคณะ จะมีรายชื่อของบุคคลคนหนึ่งที่ถูกมอบหมายให้ทำหน้าที่เป็น เลขาธิการ (Secretariats) ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกคัดเลือกมาจากตัวแทนของสถาบันมาตรฐานประจำประเทศภาคีสมาชิกที่สำคัญต่างๆ เช่น AFNOR (ฝรั่งเศส) ANSI (สหรัฐอเมริกา) DIN (เยอรมันนี) SIS (สวีเดน) ฯลฯ ขึ้นมาทำหน้าที่ประสานงาน และติดต่อรายละเอียดร่วมกันในการกำหนดรูปแบบของการปฏิบัติหรือขั้นตอนของการยกร่างมาตรฐานฉบับต่างๆ ขึ้นมาโดยตรง ประกอบกับด้วยวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการยกย่องให้เกียรติแก่บุคคลท่านนี้เป็นทางการโดยเฉพาะ องค์การ ISO จึงกำหนดรายละเอียดไว้เพิ่มเติมว่า ทุกประเทศที่มีรายชื่อสังกัดเป็นสมาชิกโดยตรง และเมื่อถูกบรรจุไว้อยู่ภายในบัญชีแสดงรายชื่อที่เรียกว่า Member bodies จำเป็นจะต้องใส่ชื่อ และนามสกุลของบุคคล (ชาย/ หญิง) ท่านดังกล่าว (ซึ่งทำหน้าที่เป็นเลขาธิการของคณะกรรมการ TC หรือ SC) กำกับอยู่ภายในวงเล็บร่วมด้วยทุกครั้ง เช่น จากตัวอย่างของคณะกรรมการด้านเทคนิค TC 176 Quality management and quality assurance 9/ และ TC 207 Environmental management 10/ ดังนี้
TC 176 การจัดการคุณภาพ และการประกันคุณภาพ (Quality management and quality assurance)
·     เลขาธิการ: SCC (Mr. David Zimmerman)
·     ประธานคณะกรรมการ: Dr. Gary Cort (ประเทศคานาดา) มีวาระจนกระทั่งถึงสิ้นสุดปี 2013
ขอบเขต:
จัดทำมาตรฐานปฏิบัติในสาขาการจัดการคุณภาพ (โดยทั่วไปมุ่งหมายถึงระบบการจัดการคุณภาพ และประเภทเทคโนโลยีสนับสนุน) สำหรับวงการวิชาชีพ/ อุตสาหกรรมจำเพาะ ซึ่งแสดงความสอดคล้องเป็นไปตามการร้องขอของสาขาวิชาชีพนั้นๆ หรือตามวัตถุประสงค์ของ ISO/TMB เป็นสำคัญ
·     จำนวนมาตรฐาน ISO ทั้งหมดที่ถูกจัดพิมพ์ขึ้นมา ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ TC และ SCs:
18
·     จำนวนมาตรฐาน ISO ทั้งหมดที่ถูกจัดพิมพ์ขึ้นมา ซึ่งอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบโดยตรงของ TC 176:
1
·     จำนวนประเทศที่เข้ามามีส่วนร่วม:
80
·     จำนวนประเทศที่เป็นผู้สังเกตการณ์:
21
คณะกรรมการ ISO ที่ทำหน้าที่เป็น Liaison:
ISO/TC 22, TC 46/SC11, TC 69, TC 207, TC 210
องค์การที่ทำหน้าที่เป็น Liaison:
AKMS, ASQ, CI, CLEPA. EAQUALS, EC, EOQ, FIDC, IAEA, IAF, ILAC, IPC, IQNet, ITC, QuEST, SEMATECH, WASPaLM, WHO
คณะกรรมการย่อย/ กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน:
ชื่อเรื่อง
·     TC 176/CAG
Chairman’s Advisory Group
·     TC 176/SC1
Concepts and terminology
·     TC 176/SC2
Quality systems
·     TC 176/SC3
Supporting technologies

TC 207 การจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental management)
·     เลขาธิการ: SCC (Mr. Kevin Boehmer)
·     เลขาธิการ (ร่วม): ABNT
·     ประธานคณะกรรมการ: Mr. Daniel Gagnier (ประเทศคานาดา) มีวาระจนกระทั่งถึงสิ้นสุดปี 2009
ขอบเขต:
จัดทำมาตรฐานปฏิบัติในสาขาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และเครื่องมือประเภทต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนการพัฒนาแบบยั่งยืน
·     จำนวนมาตรฐาน ISO ทั้งหมด ที่ถูกจัดพิมพ์ขึ้นมา ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ TC และ SCs:
22
·     จำนวนมาตรฐาน ISO ทั้งหมดที่ถูกจัดพิมพ์ขึ้นมา ซึ่งอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบโดยตรงของ TC 207:
4
·     จำนวนประเทศที่เข้ามามีส่วนร่วม:
75
·     จำนวนประเทศที่เป็นผู้สังเกตการณ์:
26
คณะกรรมการ ISO ที่ทำหน้าที่เป็น Liaison:
ISO/TC 22, TC 45, TC 61, TC 69, TC 91, TC 146, TC 146/SC1, TC 176, TC 190/SC7, TC 197, TC 203, TC 211, TC 223, TC 224, TC 229, TC 242,
องค์การที่ทำหน้าที่เป็น Liaison:
ANEC, APO, CEFIC, CEPI, CERN, CI, EC, ECOLOGIA, ECOS, EDF, EEB, EUMEPS, EURATEX, FIDIC, FSC, GEN, IAF, IAI, IAIA, IAQ, ICC, IHA, IISD, IISI, ILAC, IMA-Europe, INEM, INLAC, IQNet, ITC, Infoterm, OECD, SIERRA Club, UNCTAD, UNEP, WBCSD, WFSGI, WHO, WSI, WTO
คณะกรรมการย่อย/ กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน:
ชื่อเรื่อง
·     TC 207/CAG
Chairman’s Advisory Group
·     TC 207/TCG
Terminology Coordination Group
·     TC 207/WG7
Inclusion of environmental aspects in product standards
·     TC 207/SC1
Environmental management systems
·     TC 207/SC2
Environmental auding and related environmental investigations
·     TC 207/SC3
Environmental labelling
·     TC 207/SC4
Environmental performance evaluation
·     TC 207/SC5
Life cycle assessment
·     TC 207/SC7
Green house gas management and related activities
    5.2 ผู้จัดดำเนินการประชุมสำหรับกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน (Convenors of working groups)
        กลุ่มผู้ปฏิบัติงานโดยทั่วไปที่สังกัดอยู่ภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการย่อย SC ต่างๆ จะไม่มีตำแหน่งของเลขาธิการ ปรากฏอยู่เป็นสมาชิกของกลุ่ม แต่เพื่อมุ่งหมายให้การปฏิบัติงานดังกล่าว สามารถกระทำ และดำเนินงานเป็นไปได้อย่างรวดเร็วสำหรับกระบวนการยกร่างมาตรฐานขึ้นมาในแต่ละครั้ง จึงได้กำหนดให้มีการจัดตั้งบุคคลใดบุคคลหนึ่งขึ้นมาทำหน้าที่สำหรับการเป็น ผู้จัดและดำเนินการประชุม (Covenors) สำหรับกลุ่มย่อยนั้นๆ ด้วยความจำเพาะเจาะจง เพราะฉะนั้นคุณลักษณะพิเศษเช่นนี้ จึงช่วยส่งเสริมทำให้การปฏิบัติงานทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการยกร่างมาตรฐาน ไม่มีการหยุดชงักลงไป แต่สามารถเคลื่อนย้ายตัวจากการเป็นผลงานของ WG เข้าสู่การพิจารณาของ SC และ TC ตามลำดับในขั้นตอนสุดท้าย สำหรับรายชื่อและที่อยู่ของตำแหน่งเลขาธิการ หรือผู้จัดดำเนินการประชุมเหล่านี้ จะปรากฏอยู่ในหัวข้อเรื่อง Member bodies ซึ่งผู้ที่มีความสนใจต้องการค้นหาหรือทราบรายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติม สามารถเข้าสู่ Internet โดยตรงที่ http://www.iso.ch/addresse/membodies.html

    5.3 ประธานของคณะกรรมการด้านเทคนิค (Chairman of technical committees)
        เมื่อคณะกรรมการด้านเทคนิคแต่ละชุดทำการออกเสียง เพื่อลงมติคัดเลือกกบุคคลหนึ่งบุคคลใด ขึ้นมาทำหน้าที่เป็น ประธานคณะกรรมการด้านเทคนิค (Chairman of technical committee) แต่ละชุดแล้วนั้น ตามข้อกำหนดขององค์การ ISO ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า ไม่ยินยอมหรืออนุญาตให้ตำแหน่งดังกล่าวมาจากตัวแทน หรือผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเป็นประเทศเดียวกันกับผู้ที่ดำรงตำแหน่งเลขาธิการของ TC ในชุดนั้นๆ นอกจากนี้ตำแหน่งและวาระของการเป็นประธาน TC จะยินยอมให้อยู่ได้สูงสุด ไม่เกินระยะเวลา 6 ปี และอนูญาตให้ถูกคัดเลือกกลับคืนเข้ามาได้อีกครั้งหนึ่ง เพื่อดำรงตำแหน่งดังกล่าว แต่ไม่เกินระยะเวลา 3 ปี ซึ่งรายละเอียดประการสำคัญก็คือ จำเป็นจะต้องได้รับเสียงสนับสนุนส่วนใหญ่จากคณะกรรมการใหญ่ขององค์การ ISO ที่เรียกว่า ISO Technical Management Board (ISO/TMB) พิจารณาร่วมด้วยเสมอ ส่วนในกรณีของประธานคณะกรรมการด้านเทคนิค ที่ทำหน้าที่ร่วมกับองค์การอื่นๆ ภายใต้โครงการที่เรียกว่า Joint Technical Committee (JTC) จะต้องได้รับการอนุมัติเห็นชอบจากหน่วยงานมาตรฐานนานาชาติทั้งสองฝ่าย กล่าวคือ จาก ISO Technical Management Board และ IEC Council เป็นประการสำคัญ ในที่นี้ขอยกตัวอย่างประกอบเพื่อความเข้าใจสำหรับภารกิจหรือขอบเขตของการทำงาน รายชื่อของประธาน และเลขาธิการในคณะกรรมการด้านเทคนิค JTC 1 Information technology ไว้ดังนี้ 11/

JTC 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology)
·     เลขาธิการ: ANSI (Mrs. Lisa Rajchel)
·     ประธานคณะกรรมการ: Mr. Scott Jameson (ประเทศสหรัฐอเมริกา) มีวาระจนกระทั่งถึงสิ้นสุดปี 2008
ขอบเขต:
จัดทำมาตรฐานปฏิบัติในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
·     จำนวนมาตรฐาน ISO ทั้งหมด ที่ถูกจัดพิมพ์ขึ้นมา ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ TC และ SCs:
2232
·     จำนวนมาตรฐาน ISO ทั้งหมดที่ถูกจัดพิมพ์ขึ้นมา ซึ่งอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบโดยตรงของ JTC 1:
540
·     จำนวนประเทศที่เข้ามามีส่วนร่วม:
40
·     จำนวนประเทศที่เป็นผู้สังเกตการณ์:
44
คณะกรรมการ ISO ที่ทำหน้าที่เป็น Liaison:
องค์การที่ทำหน้าที่เป็น Liaison:
คณะกรรมการย่อย/ กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน:
ชื่อเรื่อง
·     JTC 1/SC2
Coded character sets
·     JTC 1/SC6
Telecommunications and information exchange between systems
·     JTC 1/SC7
Software and systems engineering
·     JTC 1/SC17
Cards and personal identification
·     JTC 1/SC24
Computer graphics, image processing and environmental data representation
·     JTC 1/SC27
IT Security techniques
·     JTC 1/SC29
Coding of audio, picture, multimedia and hypermedia information
·     JTC 1/SC32
Data management and interchange
·     JTC 1/SC36
Information technology for learning, education and training
·     JTC 1/SC37
Biometrics

6. ตัวอย่างการแสดงบทบาท และขอบเขตสำหรับการดำเนินงานของคณะกรรมการด้านเทคนิค ISO/TC 176 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดทำมาตรฐาน ISO 9000 (Examples for role and scope of ISO/TC 176)
    6.1 บททั่วไป (General)
        คณะกรรมการด้านเทคนิค หรือคณะกรรมการย่อยทั้งหลายขององค์การ ISO ที่ได้ถูกจัดตั้งขึ้นมา ล้วนได้รับความคุ้มครอง การอนุญาต หรือกำหนดให้มีสิทธิ์ที่ชอบธรรมอย่างสมบูรณ์ในการยกร่าง หรือทำการพัฒนามาตรฐานนานาชาติฉบับใดๆ ขึ้นมา ทั้งนี้เพื่อประกาศใช้ประโยชน์ได้ภายใต้ขอบเขตที่ได้มีการระบุ หรือสามารถชี้บ่งถึงภารกิจหลักของการปฏิบัติงานครั้งนั้นๆ ได้อย่างเด่นชัด

    6.2 บทบาท และขอบเขตของคณะกรรมการด้านเทคนิค ISO/TC 176 (The scope of ISO/TC 176)
        แผนภูมิข้างล่างนี้ ได้แสดงให้เห็นถึงลักษณะโครงสร้างของคณะกรรมการด้านเทคนิค ISO/TC 176 ซึ่งมีรายละเอียดที่ควรสนใจร่วมด้วย ดังนี้

      ·     ในเรื่องของ การจัดการคุณภาพและการประกันคุณภาพ (Quality Management and Quality Assurance)”
           กล่าวคือ ทำหน้าที่เป็นผู้ยกร่าง หรือกำหนดมาตรฐานปฏิบัติขึ้นมาในรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการคุณภาพโดยทั่วไป รวมถึงเรื่องของระบบคุณภาพ การประกันคุณภาพ และรายละเอียดอื่นๆ ด้านเทคโนโลยี ซึ่งถือว่า เป็นส่วนสนับสนุน ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางหลักสำหรับการคัดเลือก หรือใช้ประโยชน์จากตัวมาตรฐานฉบับเหล่านั้นๆ ได้โดยตรง
    6.3 บทบาทและขอบเขตของคณะกรรมการย่อยด้านเทคนิค ISO/TC 176/SC2 (The scope of ISO/TC 176/SC2)
  ·     ในเรื่องของ ระบบคุณภาพ (Quality Systems)
           กล่าวคือ ทำหน้าที่เป็นผู้กำหนดรายละเอียดโดยทั่วไปของมาตรฐานปฏิบัติในเรื่องของระบบคุณภาพ ระเบียบวิธีของการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ (Quality methodologies) รวมถึงแนวทางของการคัดเลือก หรือประยุกต์ใช้ประโยชน์สำหรับรายละเอียดจากมาตรฐานเหล่านั้นขึ้นมาโดยตรง

    6.4 สมาชิกของคณะกรรมการย่อยด้านเทคนิค ISO/TC 176/SC2 (Membership of ISO/TC 176/SC2)
·     บททั่วไป (General)
           ทุกประเทศทั่วโลกที่ถือได้ว่า เป็นภาคีสมาชิก และสังกัดขึ้นอยู่โดยตรงกับองค์การ ISO ย่อมมีสิทธิ์ในการเสนอชื่อสถาบัน หน่วยงานที่ทำหน้าที่จำเพาะ หรือมีความเกี่ยวข้องกับมาตรฐานแห่งหนึ่งๆ (ตามปรกติจะเป็นสถาบันรับรองมาตรฐานประจำชาติเป็นส่วนใหญ่) เข้ามาสมัครเป็นสมาชิก เพื่อการดำเนินงานร่วมกันสำหรับการยกร่างมาตรฐานขึ้นมา ซึ่งอยู่ภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการด้านเทคนิคสำหรับองค์การ ISO หรือคณะกรรมการย่อยในกลุ่มใดๆ ก็ได้แทบทั้งสิ้น โดยเฉพาะการแสดงความยินยอมพร้อมใจ เพื่อเข้ามาเป็นสมาชิกร่วมปฏิบัติงานแบบเต็มตัวเช่นนี้ จะถูกเรียกว่า Participating หรือ P-members หรือเมื่อต้องการแต่เพียงเข้ามาเป็นสมาชิก เพื่อทำหน้าที่ในการติดต่อรับทราบข่าวสาร ข้อมูลและความเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นจากการจัดทำมาตรฐานเท่านั้น แต่ไม่ต้องการเข้ามาร่วมมือสำหรับการปฏิบัติงานใดๆ ภายในกลุ่มของคณะกรรมการย่อยด้านเทคนิคเหล่านี้โดยตรง สมาชิกประเภทหลังเช่นนี้ จะถูกเรียกว่า เป็นประเภท ผู้สังเกตการณ์ (Observer) หรือ O-members
           นอกจากนี้ในทางปฏิบัติ คณะกรรมการย่อยด้านเทคนิคต่างๆ ที่ถูกแต่งตั้งขึ้นมา เพื่อมุ่งหวังผลในการปฏิบัติงานยกร่างมาตรฐานครั้งนั้นๆ ยังอาจจำเป็นต้องแต่งตั้งสมาชิกเพิ่มเติมจากกลุ่มบุคคล สมาคม หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องขึ้นมาอีกประเภทหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ติดต่อประสานงาน (Liaison member) ร่วมด้วยก็ได้ ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์ก็เพื่อต้องการทำหน้าที่ติดต่อประสานงานร่วมมือเข้าด้วยกันกับคณะกรรมการ/ หน่วยงานมาตรฐานอื่นๆ ที่ต้องการเข้ามาปฏิบัติงานภายใต้รายละเอียดที่สนใจในเรื่องนั้นๆ เป็นการเฉพาะ เช่น สมาชิกมาจากองค์การ IEC เป็นต้น เพราะฉะนั้นระดับของการติดต่อสำหรับสมาชิก ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานเหล่านี้ จึงค่อนข้างแตกต่างกันออกไปอย่างสิ้นเชิง ซึ่งส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นโดยตรงว่า จะเป็นไปในลักษณะมีความร่วมมือกันเกิดขึ้นมากหรือน้อยเพียงใด และในที่สุดก็อาจจำแนกสมาชิกประเภทผู้ประสานงานออกได้เป็นหลายระดับ นับตั้งแต่กลุ่ม A, B และ D เป็นประการสำคัญ
·     ประเทศและสถาบัน/ หน่วยงานมาตรฐานที่ทำหน้าที่เป็นสมาชิกประเภท ผู้เข้ามามีส่วนร่วม (Participating members)”

ประเทศ
สถาบันมาตรฐาน
ตัวอักษรย่อ
Algeria
Institut algérien de normalisation
IANOR
Argentina
Instituto Argentino de Normalización y Certificación
IRAM
Australia
Standards Australia
SA
Austria
Österreichisches Normungsinstitut
ON
Belgium
Bureau de Normalisation
NBN
Brazil
Associação Brasileira de Normas Técnicas
ABNT
Bulgaria
Bulgarian Institute for Standardization
BDS
Chile
Instituto Nacional de Normalización
INN
China
Standardization Administration of China
SAC
Cuba
Oficina Nacional de Normalización
NC
Denmark
Dansk Standard
DS
Egypt
Egyptian Organization for Standardization and Quality
EOS
Finland
Finnish Standards Association
SFS
France
Association française de normalisation
AFNOR
Germany
Deutsches Institut für Normung
DIN
Greece
Hellenic Organization for Standardization
ELOT
Hungary
Magyar Szabványügyi Testület
MSZT
India
Bureau of Indian Standards
BIS
Indonesia
Badan Standardisasi Nasional
BSN
Ireland
National Standards Authority of Ireland
NSAI
Israel
Standards Institution of Israel
SII
Italy
Ente Nazionale Italiano di Unificazione
UNI
Jamaica
Bureau of Standards Jamaica
BSJ
Japan
Japanese Industrial Standards Committee
JISC
Jordan
Jordan Institution for Standards and Metrology
JISM
Korea, Republic of
Korean Agency for Technology and Standards
KATS
Kuwait
Public Authority for Industry Standards and Industrial Services Affairs
KOWSMD
Malaysia
Department of Standards Malaysia
DSM
Mexico
Dirección General de Normas
DGN
Morocco
Service de Normalisation Industrielle Marocaine
SNIMA
Netherlands
Nederlands Normalisatie-instituut
NEN
New Zealand
Standards New Zealand
SNZ
Nigeria
Standards Organisation of Nigeria
SON
Norway
Standards Norway
SN
Peru
Instituto Nacional de Defensa de la Competencia y de la Protección de la Propiedad Intelectual
INDECOPI
Philippines
Bureau of Product Standards
BPS
Poland
Polish Committee for Standardization
PKN
Portugal
Instituto Português da Qualidade
IPQ
Romania
Asociatia de Standardizare din România
ASRO
Russian Federation
Federal Agency on Technical Regulating and Metrology
GOSTR
Singapore
Standards, Productivity and Innovation Board
SPRING SG
South Africa
South African Bureau of Standards
SABS
Spain
Asociación Española de Normalización y Certificación
AENOR
Sri Lanka
Sri Lanka Standards Institution
SLSI
Sweden
Swedish Standards Institute
SIS
Switzerland
Swiss Association for Standardization
SNV
Thailand
Thai Industrial Standards Institute
TISI
Tunisia
Institut national de la normalisation et de la propriété industrielle
INNORPI
Turkey
Türk Standardlari Enstitüsü
TSE
USA
American National Standards Institute
ANSI
United Kingdom
British Standards Institution
BSI
Uruguay
Instituto Uruguayo de Normas Técnicas
UNIT
Venezuela
Fondo para la Normalización y Certificación de la Calidad
FONDONORMA
Zimbabwe
Standards Association of Zimbabwe
SAZ

จำนวนสมาชิก P-members = 80
·     ประเทศและสถาบัน/ หน่วยงานมาตรฐานที่ทำหน้าที่เป็น Observer members
ประเทศ
สถาบัน/ หน่วยงานมาตรฐาน
ตัวอักษรย่อ
Azerbaijan
State Agency on Standardization, Metrology and Patents of Azerbaijan Republic
AZSTAND
Belarus
State Committee for Standardization of the Republic of Belarus
BELST
Bolivia
Instituto Boliviano de Normalización y Calidad
IBNORCA
Croatia
Croatian Standards Institute
HZN
Cyprus
Cyprus Organization for Standardization
CYS
Estonia
Eesti Standardikeskus
EVS
Ethiopia
Quality and Standards Authority for Ethiopia
QSAE
Hong Kong, China
Innovation and Technology Commission
ITCHKSAR
Iceland
Icelandic Standards
IST
Lithuania
Lithuanian Standards Board
LST
Malta
Malta Standards Authority
MSA
Montenegro
Institute for Standardization of Montenegro
ISME
Senegal
Association Sénégalaise de Normalisation
ASN
Syrian Arab Republic
Syrian Arab Organization for Standardization and Metrology
SASMO
Vietnam
Directorate for Standards and Quality
TCVN
Yemen
Yemen Standardization, Metrology and Quality Control Organization
YSMO

จำนวนสมาชิก O-members = 21

·     ประเทศและสถาบัน/ หน่วยงานมาตรฐานที่ทำหน้าที่เป็น Liaison members
                   1). ISO Technical Committee Liaison Members
ISO/TC207
Environmental management
ISO/TC210
Quality management and corresponding general aspects for medical devices
              XXXXXXXXX



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น